แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ผลของความเข้มแสงและความยาวช่วงคลื่น ที่มีต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายผักกาดทะเล (Ulva rigida)
Effect of light intensity and wavelength on growth of sea lettuce (Ulva rigida)

ThaSH: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์. วท.ม. (เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ) 2564
Classification :.LCCS: SH390.5.T35
ThaSH: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สาขาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ -- วิทยานิพนธ์
ThaSH: สาหร่ายผักกาดทะเล -- การเจริญเติบโต
ThaSH: สาหร่ายผักกาดทะเล -- การใช้ประโยชน์
ThaSH: สาหร่ายทะเล -- การใช้ประโยชน์
ThaSH: รงควัตถุ
ThaSH: ความยาวคลื่น
Abstract: การศึกษาผลของความเข้มแสง ความยาวช่วงคลื่น ที่มีต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายผัดกาดทะเล (Ulva rigida) มีการวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด โดยแบ่งออกเป็น 2 การทดลอง คือ การทดลองที่ 1 ศึกษาผลของความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโตของสาหร่าย มี 4 ชุดการทดลอง ๆ ละ 3 ซ้ำ คือ ชุดที่ 1 เลี้ยงที่แสงธรรมชาติ (T1) ชุดที่ 2 เลี้ยงที่ความเข้มแสง 2,000 ลักซ์ (T2) ชุดที่ 3 เลี้ยงที่ความเข้มแสง 4,000 ลักซ์ (T3) และชุดที่ 4 เลี้ยงที่ความเข้มแสง 6,000 ลักซ์ (T4) โดยทดลองเลี้ยงสาหร่ายความหนาแน่นเริ่มต้น 1 กรัม/ลิตร ความเค็ม 27ส่วนในพันส่วน ช่วงมืด:สว่าง 12:12 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์ พบว่า สาหร่ายที่เลี้ยงที่แสงธรรมชาติและสาหร่ายเลี้ยงที่ความเข้มแสง 6,000 ลักซ์ มีน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p> 0.05) และมีค่าสูงกว่าสาหร่ายที่เลี้ยงที่ความเข้มแสง 2,000 และ4,000 ลักซ์ การทดลองที่ 2 ศึกษาความยาวช่วงคลื่นต่อการเจริญเติบโตและปริมาณรงควัตถุของสาหร่าย คือ ชุดที่ 1 LED แสงสีขาว (T1) ชุดที่ 2 LED แสงสีแดง (615-630 nm) (T2) ชุดที่ 3 LED แสงสีเขียว (520-535 nm) (T3) และชุดที่ 4 LED แสงสีน้ำเงิน (464-475 nm) (T4) โดยทดลองเลี้ยงสาหร่ายความหนาแน่นเริ่มต้น 1 กรัม/ ลิตร ความเค็ม 27 ส่วนในพันส่วน ช่วงมืด:สว่าง 12:12 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์ พบว่า สาหร่ายในชุดการทดลอง LED แสงสีน้ำเงิน (464-475 nm) มีอัตราการเจริญเติบโต น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญเติบโตสัมพัทธ์ และปริมาณรงควัตถุ (ปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ และแคโรทีนอยด์) สูงที่สุด ส่วนสาหร่ายในชุดการทดลอง LED แสงสีเขียว (520-535 nm) มีการเจริญเติบโตและปริมาณรงควัตถุต่ำที่สุด ดังนั้น ควรเลี้ยงสาหร่ายด้วยแสงธรรมชาติ (ความเข้มแสง 8,710 ± 1,250 ลักซ์) และเลี้ยงที่ช่วงคลื่นแสง 464-475 นาโนเมตร ซึ่งเป็นแสงสีน้ำเงิน เพราะทำให้สาหร่ายมีการเจริญเติบโตดีที่สุด The study on effect of light intensity and wavelength on growth of sea lettuce (Ulva rigida) was conducted in Completely Randomized Design (CRD). The study was divided into 2 experiments. The effect of light intensity on growth of U. rigida, with 4 treatments 3 replications, (T1) sunlight, (T2) light intensity 2,000 Lux, (T3) light intensity 4,000 Lux and (T4) light intensity 6,000 Lux were conducted in the first experiment. Algae was cultured in acrylic glass with density of 1 g/l at salinity of 27 ppt and light treatment with 12:12 h light and dark photoperiod for 3 weeks. The results showed that the growth rate of U. rigida in both sunlight and 6,000 lux intensity weight gain increased. There were no significantly different (p>0.05) and higher than light intensity 2,000 and 4,000 Lux. The second experiment was studied on the effect of wavelength on growth and pigment content of U. rigida, (T1) LED white light, (T2) LED red light 615-630 nm, (T3) LED green light 520-535 nm and (T4) LED blue light 464-475 nm. Algae was cultured in acrylic glass with density of 1 g/l at salinity of 27 ppt and light treatment with 12:12 h light and dark photoperiod for 3 weeks. The results found that (T4) LED blue light 464-475 nm had the growth rates, weight gain increased. Relative growth rate (RGR) and pigment content (chlorophyll a and carotenoids) were higher than the others. As for the LED green light 520-535 nm had lowest in both growth rates and pigment content. Therefore, U. rigida should be cultured in natural light (light intensity 8,710 ± 1,250 Lux) and wavelength 464-475 nm (blue light) because the algae had highest growth.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักหอสมุด
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: tdckulib@ku.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
Created: 2564
Modified: 2568-07-09
Issued: 2568-07-09
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: https://www.lib.ku.ac.th/KUthesis/2564/sitanan-kon-all.pdf
CallNumber: SH390.5.T35 .ส34
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 sitanan-kon-all.pdf 1.75 MB
ใช้เวลา
0.018747 วินาที

สิตานันท์ คงเวียง
พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล
Title Creator Type and Date Create
ผลของการให้อากาศและโมลาสต่อคุณภาพน้ำบางประการและต่อการเจริญเติบโตของปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocephalus X clarias gariepinus) ที่เลี้ยงในระบบปิด
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล ;เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์;ยนต์ มุสิก
อรรณพ ขุนทองน้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของความเข้มแสงและความยาวช่วงคลื่น ที่มีต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายผักกาดทะเล (Ulva rigida)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล ;อิสริยา วุฒิสินธุ์
สิตานันท์ คงเวียง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลกระทบของการใช้อาหารทดแทนปลาป่น และกากถั่วเหลือง ด้วยถั่วเหลืองหมัก ต่อการเจริญเติบโตและการเกิดอาการไมโครวิลไล ลอกหลุด (ATM) ในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิติ ชูเชิด;พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล
วรรณ เชิดเกียรติพล
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิสริยา วุฒิสินธุ์
Title Creator Type and Date Create
การศึกษานิเวศวิทยาทางน้ำเพื่อกำหนดแนวทางในการอนุรักษ์ประมง ในพื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าหนองบงคาย จังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุขุม เร้าใจ;อิสริยา วุฒิสินธุ์;ภัสสรา รัตนพิศฎฐ์
ขวัญเรือน ยอดคำ, 2526-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงกิจกรรมการทำประมงที่เกิดจากการพัฒนาการท่องเที่ยว : กรณีศึกษา อำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เมธี แก้วเนิน;อิสริยา วุฒิสินธุ์;ภัสสรา รัตนพิศิฏฐ์
ณิชาพัชร์ ทรัพย์บริบูรณ์, 2526-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของไข่น้ำ (Wolffia arrhiza (L.) Wimm.) และวิธีในการเพาะขยายพันธุ์แบบมหมวล
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุขุม เร้าใจ ;อิสริยา วุฒิสินธุ์
กันย์สินี พันธ์วนิชดำรง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การกำจัดแอมโมเนียไนโตรเจนจากน้ำเสียฟาร์มสุกรและไก่ ด้วยแมงกานีสซีโอไลต์ ในแบบจำลองคลองวนเวียน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุขุม เร้าใจ;อิสริยา วุฒิสินธุ์
ศิลป์ชัย มณีขัติย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทรัพยากรและการประมงปลาจะละเม็ดขาว (Pampus argenteus Euphrasen, 1788) ในบริเวณอำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อิสริยา วุฒิสินธุ์ ;เมธี แก้วเนิน ;ธนิษฐา ทรรพนันทน์ใจดี
อลิษา เวชวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การกำจัดแอมโมเนียไนโตรเจนจากน้ำทิ้งฟาร์มเลี้ยงกุ้งด้วยแมงกานีสซีโอไลด์ในแบบจำลองคลองวนเวียน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุขุม เร้าใจ;อิสริยา วุฒิสินธุ์
ยุทธพล สาเอี่ยม
วิทยานิพนธ์/Thesis
นิเวศวิทยาและแนวทางการบริหารจัดการแหล่งต้นน้ำ เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ พื้นที่ชุ่มน้ำแควใหญ่ตอนล่าง จังหวัดกาญจนบุรี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อิสริยา วุฒิสินธุ์ ;สุขุม เร้าใจ
สิทธิ กุหลาบทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของสารสีจาก Monascus sp. ต่อความเข้มสี และการเจริญเติบโตของปลาแฟนซีคาร์พ (Cyprinus carpio Linn.) และกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นนทวิทย์ อารีย์ชน;อรพินท์ จินตสถาพร อลงกรณ์;อิสริยา วุฒิสินธุ์
สิริรัตน์ โกศลเวช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์และการกักเก็บคาร์บอนในบ่อเลี้ยงกุ้งขาวแบบพัฒนา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุริยัน ธัญกิจจานุกิจ;อิสริยา วุฒิสินธุ์
ณัทธิยา ชำนาญค้า
วิทยานิพนธ์/Thesis
สมบัติทางกายภาพและเคมีของดินตะกอนในพื้นที่เลี้ยงหอยแครง บริเวณอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จินตนา สและน้อย;อิสริยา วุฒิสินธุ์;เมธี แก้วเนิน
ชนากานต์ สุขอุดม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาคุณภาพดินตะกอนและคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงหอยแครง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อิสริยา วุฒิสินธุ์;ศิริสุดา จำนงทรง
อาทิตย์ แสวงผล
วิทยานิพนธ์/Thesis
คุณลักษณะดินตะกอนและการแพร่กระจายของเชื้อแบคทีเรียบริเวณแหล่งเลี้ยงหอยแครง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จินตนา สและน้อย;อิสริยา วุฒิสินธุ์;เมธี แก้วเนิน
ทองทิพย์ วงษ์ศิลป์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของ Giant Bladder Kelp (Macrocystis pyrifera) ต่อการเจริญเติบโต การตอบสนองต่อระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะเจาะจง และอัตรารอดตายของกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) เมื่อทดสอบด้วยเชื้อ Vibrio parahaemolyticus (VP AHFND)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิติ ชูเชิด;อิสริยา วุฒิสินธุ์
กนกวรรณ เชิดเกียรติพล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของโซเดียมเบนทอไนต์ต่อความเป็นพิษเฉียงพลัน คุณภาพน้ำ และอัตราการเจริญเติบโตของปลากะพงขาว (Lates Calcarifer)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล;อิสริยา วุฒิสินธุ์
ธนากร ทราเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้แบคทีเรีย Bacillus spp ในการควบคุมแบคทีเรียวิบริโอ (Vibrio spp) และการลดปริมาณอินทรีย์คาร์บอนละลายในการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;นิติ ชูเชิด;อิสริยา วุฒิสินธุ์
พัณณิตา สุวานิชสุขสันต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระบบการเลี้ยงปลานิลกระชังในบ่อดิน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อิสริยา วุฒิสินธุ์;พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล;อุไรรัฒท์ เนตรหาญ
ยุทธพล สาเอี่ยม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การอนุบาลลูกปลานิลแดง (Oreochromis sp) ด้วยเทคโนโลยีไบโอฟลอค
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;อิสริยา วุฒิสินธุ์;พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล;ชุมพล ศรีทอง
ราชมงคล ขจรวุฒิศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้โปรตีนจากกากถั่วเหลืองหมักด้วย Lactobacillus acidophilus ทดแทนโปรตีนจากปลาป่นในอาหารกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;นิติ ชูเชิด;อิสริยา วุฒิสินธุ์
สิริโรจน์ วังสุนทร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของความเข้มแสงและความยาวช่วงคลื่น ที่มีต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายผักกาดทะเล (Ulva rigida)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล ;อิสริยา วุฒิสินธุ์
สิตานันท์ คงเวียง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาทางคัพภะและเทคนิคการให้อาหารเพื่อการอนุบาลปลาบู่เหลือง Cryptocentrus cinctus (Herre, 1936)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล;อิสริยา วุฒิสินธุ์
ดวงทิพย์ อู่เงิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของแหล่งไนโตรเจนต่อการเจริญเติบโตและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสาหร่ายผักกาดทะเล (Ulva rigida)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล;อิสริยา วุฒิสินธุ์
อัญชลี ตันไชยฮะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาปริมาณสารอินทรีย์คาร์บอนในดินตะกอน และความสัมพันธ์กับปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการเลี้ยงปลานิลร่วมกับกุ้งขาวในบ่อดิน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;อิสริยา วุฒิสินธุ์;นนทวิทย์ อารีย์ชน
หทัยพร ศรีสุขสมวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาชีววิทยาและปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการอนุบาลกุ้งแรด Atyopsis moluccensis (De Haan, 1849)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;สุริยัน ธัญกิจจานุกิจ;อิสริยา วุฒิสินธุ์
สตวรรษ อรุณธัญญา
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 46
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,520
รวม 3,566 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 93,300 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 94 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 51 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 14 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 14 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 12 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 93,487 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180