แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การพัฒนากลุ่มชาวนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการผลิตข้าว กรณีศึกษาโครงการที่ดินพระราชทานเพื่อการเกษตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา cสุภักษร หลงละเลิง
Development of farmers' group in increasing the efficiency of rice production system case study of the project on the Royal Agriculture Land, Phra Nakhon Si Ayutthaya

ThaSH: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์. วท.ม. (เศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร) 2561.
Classification :.LCCS: HD8039.R482.T35
ThaSH: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. -- สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร -- วิทยานิพนธ์
ThaSH: ชาวนา
ThaSH: ข้าว -- การผลิต
ThaSH: การจัดการฟาร์ม
Abstract: การวจิยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กระบวนการและปัจจยที่มีผลต่อการพัฒนากลุ่มชาวนาที่เข้าร่วม เข้าร่วมโครงการฯ ให้มีความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ (2) วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพของระบบการผลิตข้าวก่อน และหลังของกลุ่มชาวนาที่เข้าร่วมโครงการฯ และ (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนากลุ่มชาวนาทั่วไปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการผลิตข้าวโดยกลุ่มชาวนาบนที่ดินพระราชทานเพื่อการเกษตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 17 ราย ที่เข้าร่วมโครงการฯ ทำการศึกษาวิจัยในช่วงระยะเวลาตั้งแต่ ตุลาคม 2557 – มีนาคม 2560 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าระบบการผลิตข้าวของกลุ่มชาวนาที่เข้าร่วมโครงการฯ มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น โดยพิจารณาจากรายรับที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 14 ซึ่งเป็นผลมาจาก ผลผลิตต่อไร่ที่เพิ่มมากขึ้น จากการเลือกใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพและกระบวนการบริหารจัดการในแปลงนาที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นประกอบกับราคาผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตข้าวได้คุณภาพมากขึ้น ในส่วนของต้นทุนการผลิต เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตที่เป็นเงินสดลดลง ร้อยละ 20 และมีความแตกต่างอยางมีนัยสำคัญทางสถิติจากการผลิตและใช้สารชีวภัณฑ์ทดแทนการซื้อสารเคมีและการใชเมล็ดพันธุ์ในปริมาณที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของตนข้ าว ในส่วนของกระบวนการพัฒนากลุ่มชาวนาที่เข้าร่วมโครงการฯ ประกอบไปด้วย 7 ขั้นตอนได้แก่ 1) วิเคราะห์ปัญหาพื้นที่ 2) เรียนรู้ทัศนคติ 3) กระบวนการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วม 5) การเก็บข้อมูล 6) การคืนข้อมูล และ 7) แก้ไขปรับปรุงรอบต่อไป ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากลุ่มชาวนาส่วนใหญ่ให้ความสำคัญในด้านปัจจัยความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่สุด เพราะหากสมาชิกมีความสัมพันธ์ที่ดี จะส่งผลต่อการช่วยเหลือซึ่งกันและกันมีความรักความสามัคคีและทำให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แนวทางในการพัฒนากลุ่มชาวนาที่เข้าร่วมโครงการฯ คือ 1) การปรับทัศนคติของการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อการพึ่งพาตนเอง 2) การค้นหาและพัฒนาศักยภาพผู้นำกลุ่ม 3) การให้ความรู้ควบคู่การปฏิบัติจริงเพื่อให้เห็นผลลัพธ์จริง 4) การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการเก็บข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูลและการใช้ประโยชน์ข้อมูลของกลุ่มเกษตรกร 5) การวางแผนบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตจากแปลงนาร่วมกัน และ 6) การตรวจสอบการดำรงอยู่ของกลุ่มภายใต้แนวทางการพึ่งพาตนเอง Objectives of the research are as the followings; (1) analysis of process and factors on farmer group development (2) comparative analysis of efficiency rice production system between before and after joining the project, and (3) to pursue the suggestions of farmer group development in order to increasing rice production system.17 farmers in the Royal Agricultural Land Reform Area, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province to join the project. Research timing during October 2014 – March 2017 Results of data analysis to rice production system of the farmer group joined the project have been higher efficiency, according to higher income to 14 percent, which has resulted from higher yield per rai and higher farm price of quality rice products. There were effected from higher quality rice seed and better rice production planning in paddy field. In the other hands, rice production cost has been lower to 20 percent, which has been resulted from application of their own biological products replaced to chemical products bought from outside community, as well as application of suitable amount of rice seed in plantation. Results of presenting to as the followings; the processing on farmer group development are consisting of 7 steps as to; 1) area-based problem analysis, 2) attitude learning, 3) learning process, 4) participation, 5) data collection, 6) analyzed data returns to the group, and 7) improvement process on the next crop. Meanwhile, the key factors effected on the farmer group development are as the followings; 1) good relation between group members, 2) good co-operation in farmer group, and 3) group unity. According to synthesis data has been presented as the followings ; 1) attitude adjustment for group gathering to be self- reliance, 2) strengthening potential group leader, 3) knowledge management associated with area-based workshop, 4) improving participation process in data collection, data analysis, data application to the paddy field and group improvement, 5) planning of group management in order to increase value-added of rice production in term of farmer group or co-operation, and 6) investigate existence on your self – reliance.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักหอสมุด
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: tdckulib@ku.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
Role: ประธานกรรมการที่ปรึกษา
Created: 2561
Modified: 2568-06-27
Issued: 2568-06-27
URL: https://www.lib.ku.ac.th/KUthesis/2561/supaksorn-lon-all.pdf
CallNumber: HD8039.R482.T35 .ส41
tha
©copyrights
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.020876 วินาที

สุภักษร หลงละเลิง
Title Contributor Type
ธันวา จิตต์สงวน
Title Creator Type and Date Create
อรุณประภาส์ ธนกิจโกเศรษฐ์
Title Creator Type and Date Create
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของโครงการเขื่อนรัชชประภา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ธันวา จิตต์สงวน ;อรุณประภาส์ ธนกิจโกเศรษฐ์
จารุรัตน์ ใจแก้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
กลยุทธ์การพัฒนาระบบควบคุมมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารของประเทศไทย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชุติมา ไวศรายุทธ์ ;อรุณประภาส์ ธนกิจโกเศรษฐ์
ภัทศา ผุงเพิ่มตระกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการปลูกแฝก ในภูมิสังคมการเกษตรที่แตกต่างกัน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ธันวา จิตต์สงวน;ศานิต เก้าเอี้ยน;อรุณประภาส์ ธนกิจโกเศรษฐ์
สุวิทย์ ถาวรวงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์แรงจูงใจในการงดเผาตอซังข้าวของเกษตรกร อำเภอคลองเขื่อน จังหวัดฉะเชิงเทรา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปิติ กันตังกุล;เอ็จ สโรบล;อรุณประภาส์ ธนกิจโกเศรษฐ์
วัลยา ตรีวิเศษ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากลุ่มชาวนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการผลิตข้าว กรณีศึกษาโครงการที่ดินพระราชทานเพื่อการเกษตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา cสุภักษร หลงละเลิง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;ธันวา จิตต์สงวน;อรุณประภาส์ ธนกิจโกเศรษฐ์
สุภักษร หลงละเลิง
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 4,019
รวม 4,019 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.10