แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การจัดพอร์ตการลงทุนแบบ 3 ขั้นตอน
Three-stage portfolio management


ThaSH: หุ้นและการเล่นหุ้น
ThaSH: จีเนติกอัลกอริทึม
ThaSH: การวิเคราะห์วางกรอบข้อมูล
ThaSH: การวิเคราะห์การลงทุน
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอการจัดการพอร์ตการลงทุนในหุ้นแบบ 3 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกเป็นการคัดเลือกหุ้นเข้าพอร์ตการลงทุนตามแนวคิดของการประเมินประสิทธิภาพ DEA โดยเปรียบเทียบวิธีการ 3 วิธีคือ 1) วิธี DEA 2) วิธี Super-efficiency และ 3) วิธี DEA Cross-efficiency ภายใต้ตัวแบบผลตอบแทนต่อขนาดคงที่ มุมมองปัจจัยผลผลิต (CRS-Output oriented model) โดยใช้อัตราส่วนทางการเงินเป็นปัจจัยนำเข้าและปัจจัยผลผลิต ขั้นตอนที่สองกำหนดสัดส่วนการลงทุนของหุ้นในพอร์ต โดยเปรียบเทียบการกำหนดสัดส่วนการลงทุน 3 วิธี คือ 1) กำหนดตามสัดส่วนของคะแนนประสิทธิภาพ 2) กำหนดตามค่าน้ำหนักจากตัวแบบ Markowitz Mean-variance และ 3) กำหนดตามค่าน้ำหนักจากตัวแบบ DEA Mean-Variance Cross-efficiency ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการหาจังหวะซื้อขาย โดยใช้ดัชนี Dimbeta โดยจะเปรียบเทียบเทคนิคที่ใช้ในการคำนวณค่าเฉลี่ย 4 กรณี คือ กรณีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย กรณีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้ำหนัก กรณีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้ำหนักเอกซ์โพเนนเชียลแบบกำหนดค่า smoothing factor และกรณีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้ำหนักเอกซ์โพเนนเชียลแบบหาค่า smoothing factor ที่เหมาะสุด โดยใช้วิธี Genetic Algorithm ในการหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมของแต่ละวิธี ข้อมูลอัตราส่วนทางการเงินของหุ้นในดัชนี SET50 รอบปี 2559 และปี 2560 ใช้สำหรับการคัดเลือกหุ้นเพื่อสร้างพอร์ตการลงทุนในปี 2560 และ 2561 อนุกรมเวลาราคาปิดรายวันของหุ้นที่ถูกเลือกเข้าพอร์ตการลงทุน ใช้ในการหาจังหวะการซื้อขายหุ้น โดยแบ่งอนุกรมเวลาราคาปิดรายวัน ออกเป็น 2 เซต คือ Training set สำหรับใช้หาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมของตัวแบบ และ Test set ใช้สำหรับการทดสอบสมรรถนะนอกช่วง Training set ผลการวิจัยพบว่า 1) หุ้นที่ได้รับการคัดเลือกจากแต่ละวิธีไม่ค่อยแตกต่างกันมากนัก แต่การกำหนดสัดส่วนการลงทุนมีผลต่ออัตราผลตอบแทนที่ได้รับเป็นอย่างมาก โดยแนวทางที่ใช้ DEA Cross-efficiency ร่วมกับ DEA Mean-Variance Cross-efficiency สร้างพอร์ตการลงทุนที่ให้อัตราผลตอบแทนสะสมสูงสุดเมื่อเทียบกับพอร์ตที่กำหนดสัดส่วนการลงทุนตามคะแนนประสิทธิภาพ และตามตัวแบบ Markowitz Mean-variance 2) จังหวะการซื้อขาย ที่ได้จากการใช้ดัชนี Dimbeta กรณีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้ำหนักเอกซ์โพเนนเชียลแบบหาค่า smoothing factor เหมาะสุด สามารถสร้างอัตรากำไรได้ดีมากในช่วง Training set ทั้งพอร์ตการลงทุนสำหรับปี 2560 และปี 2561 เมื่อนำค่าพารามิเตอร์ที่ได้มาทดสอบกับช่วง Test set พบว่า ในปี 2561 วิธีนี้ยังคงให้จังหวะซื้อขายที่สร้างอัตรากำไรสูงสุดในหุ้นหลายบริษัท แต่สำหรับปี 2560 วิธีนี้ให้อัตรากำไรไม่ค่อยสูงมากนัก
Abstract: This research proposes a three-stage approach for the management of a stock portfolio. In the first stage, stocks are selected based on the DEA concept. Three selection strategies, DEA, Super-efficiency and DEA Cross-efficiency are compared. These methods are utilized based on the CRS-Output oriented model. Financial ratios are used as the inputs and outputs of the models. In the second stage, investment weighting is determined for the selected stocks. Three weighting strategies are applied: using an efficiency score, the Markowitz Mean–Variance model and a DEA Mean–Variance cross-efficiency. In the final stage, trading signals are determined by using a Dimbeta indicator. Moving average techniques – including Simple Moving Average (SMA), Weighted Moving Average (WMA), Exponential Moving Average (EMA) with assigned smoothing factors and EMA with optimal smoothing factors – are employed to compute the Dimbeta indicator. The Genetic Algorithm (GA) is used to optimize the parameters in each case. The financial ratio stock data from the SET50 index in the years 2016 and 2017 was utilized in order to construct the portfolio for the investment years 2018 and 2019, respectively. A time series of daily closing prices of stocks in the portfolio was employed in order to find trading signals. These series were divide into two sets; a training set to fix the parameters of the Dimbeta indicator and a test set to examine the performance in outside the training period. The results of this study show that: 1) When comparing stock selection methods, the three methods (i.e. DEA, Super-efficiency and DEA Cross-efficiency) give quite similar sets of selected stocks. However; the investment weight of each stock has a significant effect on the rate of return. The DEA cross-efficiency incorporated with DEA Mean–Variance cross-efficiency strategy is able to create the superior portfolio in cumulative returns in comparison with the DEA efficiency score and the Markowitz Mean-Variance strategy. 2) The trading signals obtained from the Dimbeta indicator, using the EMA with an optimal smoothing factor in computing, provided excellent rates of profit in the Training set in 2017 and 2018 and was able to provide the highest rate of profit for many stocks in the Test set from 2018. However, it did not perform well on the Test set from 2017.
มหาวิทยาลัยศิลปากร. สำนักหอสมุดกลาง
Address: นครปฐม (Nakorn Prathom)
Email: wangthapralibrary@gmail.com
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
Role: Advisor
Created: 2562
Modified: 2568-05-15
Issued: 2568-05-15
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยศิลปากร
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 MA_เอกนรินทร์_แซ่ฉิน.pdf 7.48 MB
ใช้เวลา
0.021088 วินาที

เอกนรินทร์ แซ่ฉิน
Title Contributor Type
การจัดพอร์ตการลงทุนแบบ 3 ขั้นตอน
มหาวิทยาลัยศิลปากร
เอกนรินทร์ แซ่ฉิน;Aeknarin Saechin
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
Suda Tragantalerngsak
วิทยานิพนธ์/Thesis
Aeknarin Saechin
Title Contributor Type
การจัดพอร์ตการลงทุนแบบ 3 ขั้นตอน
มหาวิทยาลัยศิลปากร
เอกนรินทร์ แซ่ฉิน;Aeknarin Saechin
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
Suda Tragantalerngsak
วิทยานิพนธ์/Thesis
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
Title Creator Type and Date Create
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รัชนี ภูวพัฒนะพันธุ์;สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
มงคล พรหมศร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ตัวกำหนดกระแสการย้ายถิ่นในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
สันทัด เสริมศรี;นันทวัน อันตรเสน;สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
มนตรี พิริยะกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปรับปรุงและจัดการหนี้ที่มีปัญหา : กรณีศึกษาลูกหนี้รายย่อยของธนาคารพาณิชย์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รัชนี ภูวพัฒนะพันธุ์;สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;บุญช่วย ศรีธรรมศักดิ์
นันทาศิริ ทองคล้าย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับแขนหุ่นยนต์จับชิ้นงานเคลื่อนที่อัจฉริยะ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มนตรี พิริยะกุล;สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;บุญช่วย ศรีธรรมศักดิ์
สมภพ ตรัยไชยาพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจสอบค่าผิดปกติตามแนวทางของเบย์ : ตัวสถิติระยะทางคูลแบคก์และ L1 ในรูปอย่างง่าย
มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปราณี นิลกรณ์;สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
ประสพชัย พสุนนท์.
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจหาค่านอกกลุ่มทีละหลายค่าในการถดถอยอย่างง่ายด้วยวิธีหลายขั้นตอนแบบสองเฟส
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;ปราณี นิลกรณ์
บุญชนะ วาราชะนนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบตัวแบบพยากรณ์ภาวะเงินเฟ้อระหว่างตัวแบบ ARIMA ตัวแบบอัตราดอกเบี้ยตัวแบบ Transfer Function และตัวแบบ VAR
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;ปราณี นิลกรณ์
ธนาวุฒิ ศรีวิรักษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจหาค่านอกกลุ่มในอนุกรมเวลาโดยกระบวนการทำซ้ำและการตรวจสอบแบบตัดออก k ค่า
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
จงรักษ์ ศรีทิพย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประเมินประสิทธิภาพของโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 โดยวิธี DEA และการวิเคราะห์โทบิต
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
อสมา ศุภนิมิตรเจริญพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์สภาพไวของตัวแบบ DEA : กรณีศึกษาสหกรณ์ออมทรัพย์สถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
ศราวุธ หุ่นกลัด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ฮิวริสติกส์สำหรับการจัดตารางเวลาสอบ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
อรอนงค์ ดอกจันรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดพอร์ตการลงทุนแบบ 3 ขั้นตอน
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;Suda Tragantalerngsak
เอกนรินทร์ แซ่ฉิน
Aeknarin Saechin
วิทยานิพนธ์/Thesis
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารงานงบประมาณด้านคุณภาพการศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รัชนี ภูวพัฒนะพันธุ์;สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;บุญช่วย ศรีธรรมศักดิ์
น้ำเพชร ชาญจึงถาวร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจจับค่านอกกลุ่มโดยใช้แผนภูมิควบคุมที่มีความแกร่ง
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์
อรวรรณ เหลืองสีเพชร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับคัดเลือกผู้ให้บริการโลจิสติกส์กรณีศึกษา: ธุรกิจผลิตรองเท้า
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รัชนี ภูวพัฒนะพันธุ์;สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;บุญช่วย ศรีธรรมศักดิ์
ญานิกา ทวีพงศ์ศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจหาค่านอกกลุ่มทีละหลายค่าในการถดถอยอย่างง่ายด้วยวิธีหลายขั้นตอนแบบ สองเฟส
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;Suda Tragantalerngsak
บุญชะนะ วาราชะนนท์
Bunchana Varachanon
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์เครือข่ายอัตราผลตอบแทนและปริมาณการซื้อขายของหุ้นใน SET 50
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;Suda Tragantalerngsak
อังคนา เกาะแก้ว
Angkana Kokaew
วิทยานิพนธ์/Thesis
Suda Tragantalerngsak
Title Creator Type and Date Create
การจัดพอร์ตการลงทุนแบบ 3 ขั้นตอน
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;Suda Tragantalerngsak
เอกนรินทร์ แซ่ฉิน
Aeknarin Saechin
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจหาค่านอกกลุ่มทีละหลายค่าในการถดถอยอย่างง่ายด้วยวิธีหลายขั้นตอนแบบ สองเฟส
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;Suda Tragantalerngsak
บุญชะนะ วาราชะนนท์
Bunchana Varachanon
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์เครือข่ายอัตราผลตอบแทนและปริมาณการซื้อขายของหุ้นใน SET 50
มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุดา ตระการเถลิงศักดิ์;Suda Tragantalerngsak
อังคนา เกาะแก้ว
Angkana Kokaew
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 11
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,669
รวม 2,680 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 221,564 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 580 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 475 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 71 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 56 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 9 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 1 ครั้ง
รวม 222,762 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48