แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Women's social movement, sexual violence, and conflict in Kachin State, Myanmar
ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของผู้หญิง , ความรุนแรงทางเพศ และความขัดแย้งในรัฐคะฉิ่น ประเทศเมียนมา

LCSH: Women's rights -- Burma
LCSH: Sex discrimination against women
LCSH: Burma -- Politics and government
LCSH: Kachin (Asian people)
LCSH: Ethnology -- Burma
Abstract: This paper explores the relationship between gender, sexuality and nationhood through analysis of the women's social movement in northern Myanmar, particularly the activities of women's organizations created to stop widespread and systematic rape of Kachin women by Myanmar's military forces. The interpretation of women's roles and place in society became a vital facet of the ethno-nationalist struggle in Kachin State. Ethnic women's rights to security and authority to decide their own bodies had important implications for population and national boundaries and thus women's bodies became prime targets for non-Kachin men wishing to humiliate or destroy the Kachin community. Many feminist scholars define sexual violence during armed conflict as a weapon of war, and Myanmar's military forces employed the rape of Kachin women as a means to humiliate armed rebel groups who were unable to protect their women in order to destroy the social fabric of the Kachin community. This strategic use of sexual violence toward women was used not only in Kachin regions, but it was a component of military operations to suppress ethnic rebellions in the Myanmar nation since 1948. Civil war between ethnic armed groups and past and present central government regimes in Myanmar is the longest running conflict of its kind in the world and began shortly after Myanmar gained independence from British colonial rule in 1947. Despite the beginnings of a democratic transition which occurred in 2010, ethnic border areas remained plagued by ongoing armed conflict. Since 2011, the Myanmar government - led by former president Thein Sein - initiated ceasefire negotiations with ethnic armed organizations resulting in the signing of a partial nationwide ceasefire agreement but fighting continued in Kachin regions. Political strife and warfare continued to threaten the lives of people in Kachin State. And under present conditions, Myanmar's hierarchical power structure as well as practices of inequality and a culture of impunity for perpetrators of sexual violence continues to affect communities in Kachin regions. The intensification of wartime sexual violations which accompanied the resumption of war between the KIA and the Myanmar military forces precluded the reaching of political agendas, and Kachin women's organizations responded by seeking ways to deal with gender issues within their own communities. Kachin women's organizations developed programs to collect comprehensive data in order to identify the needs of victims requiring assistance. Such documentation proved useful for compiling information used in prosecution of crimes within the existing legal system, and these records were also used to set up social services mechanisms. Women's organizations built strong networks among the local community and worked together with other ethnic groups to publicize to the international community the problem of sexual violence against Kachin women committed by the Myanmar military, and networks formed by women's groups were key to the pursuit of justice through exerting international pressure on the Myanmar government. Experiences of gender violence against Kachin women in conflict areas motivated women to become activists against sexual violence and to act as agents for change in society. Some Kachin women volunteers served in social movements just as Kachin men became involved in the Kachin nationalist movement to fight for self-autonomy in Myanmar and for equal rights. Women formed local civil-based organizations to expand the space for women in politics and women rights in society. Women directly participated in public demonstrations beyond the boundaries of traditional and cultural constraints. Through their grassroots work, Kachin women attempted to contest the limited role and representation of women in the national peace initiative process and to enhance gender consciousness among women's group.
Abstract: วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศสภาวะ เพศวิถีและความเป็นชาติผ่านการวิเคราะห์ ขบวนการทางสังคมของผู้หญิงในภาคเหนือของประเทศเมียนมา โดยเฉพาะกิจกรรมขององค์กรสตรี ต่าง ๆ ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อหยุดยั้งขบวนการข่มขืนผู้หญิงชาวคะฉิ่นที่แผ่ขยายและเป็นระบบของกองทัพ เมียนมา การตีความบทบาทและตำแหน่งแห่งที่ของผู้หญิงในสังคมกลายเป็นมิติที่สำคัญในการต่อสู้ ทางชาติพันธุ์ในรัฐคะฉิ่น สิทธิของผู้หญิงกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อความปลอดภัยและอำนาจในการตัดสินใจ บนร่างกายของตัวเอง มีนัยสำคัญต่อพรมแดนทางประชากรและเชื้อชาติ ดังนั้นร่างกายของผู้หญิงจึง เป็นเป้าหมายหลักของผู้ชายนอกกลุ่มชาติพันธุ์ที่มุ่งหวังสร้างความอับอายและทำลายชุมชนชาวคะฉิ่น นักวิชาการด้านสตรีนิยมหลายคนนิยามความรุนแรงทางเพศระหว่างการสู้รบว่าคือเครื่องมือในการทำ สงครามชนิดหนึ่ง และกองทัพเมียนมาได้ใช้การข่มขืนผู้หญิงชาวคะฉิ่นเป็นเครื่องมือในการสร้าง ความอับอายให้แก่กลุ่มกองกำลังติดอาวุธที่ไม่สามารถปกป้องผู้หญิงของฝ่ายตนได้ เพื่อทำลายสายใย ทางสังคมของชุมชนชาวคะฉิ่น การเลือกใช้ความรุนแรงทางเพศต่อผู้หญิงเป็นยุทธศาสตร์ที่ไม่ได้นำมาใช้เฉพาะ ในรัฐคะฉิ่นเท่านั้น แต่เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการทางทหารเพื่อปราบปรามการเคลื่อนไหวต่อด้านของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศเมียนมา ตั้งแต่ ค.ศ 1948 .สงครามกลางเมืองระหว่างกองกำลังติดอาวุธของกลุ่มชาติพันธุ์ กับรัฐบาลส่วนกลางของเมียนมาทั้งในอดีตและปัจจุบันเป็นความขัดแย้งที่ดำเนินมาอย่างยาวนานที่สุด ในโลก โดยเกิดขึ้นเพียงไม่นานหลังจากเมียนมาได้รับเอกราชจากจักรวรรดินิยมอังกฤษ เมื่อ ค.ศ1947 . แม้ว่าจะเป็นช่วงเริ่มต้นของการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ประชาธิปไดย ซึ่งเริ่มตั้งแต่ ค.ศ 2010 .แต่พื้นที่รอยต่อ กับกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ยังคงมีความขัดแย้งเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแค่ ค.ศ 2011 .รัฐบาลเมียนมา นำ โดยอดีตประธานาธิบดี เต็งเส่ง ได้ริเริ่มการต่อรองเพื่อหยุดยิงกับองค์กรกองกำลังติดอาวุธของกลุ่ม ชาติพันธุ์ต่าง ๆ นำมาซึ่งการลงนามในข้อดลงหยุดยิงชั่วคราวทั่วประเทศ อย่างไรก็ตาม การสู้รบ ยังคงดำเนินอยู่ในรัฐคะฉิ่น ความขัดแย้งทางการเมืองและสงความได้คุกคามชีวิตผู้คนในรัฐคะฉิ่นมา อย่างต่อเนื่อง และภายได้สถานการณ์ปัจจุบัน โครงสร้างอำนาจนำในเมียนมา รวมถึงปฏิปฏิบัติการอันไม่ มีความเท่าเทียม และวัฒนธรรมการนิรโทษกรรมต่อผู้กระทำความรุนแรงทางเพศส่งผลกระทบต่อ ชุมชนในรัฐคะฉิ่นตลอดมา ความรุนแรงที่ทวีความเข้มข้นมากขึ้นในภาวะสงครามและการล่วงละเมิดทางเพศ ดำเนินมาพร้อมกับ การคืนสู่การต่อสู้ระหว่าง KIA และกองทัพเมียนมา ซึ่งได้ขัดขวางการบรรลุเป้าหมายทางการเมือง องค์กรสตรีชาวคะฉิ่นตอบโต้โดยการแสวงหาแนวทางในการจัดการด้วยประเด็นเพศสภาวะ ในชุมชน ของตนเอง องค์กรสตรีชาวคะฉิ่นได้พัฒนาโปรแกรมเพื่อเก็บรวมรวมข้อมูลอย่างกว้างขวางเพื่อ ชี้ให้เห็นความต้องการของเหยื่อที่ต้องการความช่วยเหลือ การบันทึกข้อมูลเหล่านี้เป็นประโยชน์ต่อ การรวบรวมหลักฐานเพื่อใช้ในการฟ้องร้องการกระทำอาชญากรรมในระบบบกฎหมายที่เอื้ออำนวย นอกจากนี้ข้อมูลดังกล่าวยังเป็นประโยชน์ต่อการจัดตั้งกลไกการบริการสังคมอีกด้วย องค์กรสตรี เหล่านี้ได้สร้างเครือข่ายที่เข้มแข็งในชุมชนท้องถิ่นและทำงานร่วมกับกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ เพื่อสื่อสาร กับชุมชนระดับนานาชาติในความรุนแรงทางเพศต่อผู้หญิงชาวคะฉิ่นโดยทหารเมียนมา และเครือข่าย ที่จัดตั้งโดยกลุ่มผู้หญิงเหล่านี้เป็นกุญแจสำหรับการเรียกร้องความยุติธรรมผ่านการกดดันในระดับ นานาชาติต่อรัฐบาลเมียนมาด้วย ประสบการณ์ของความรุนแรงทางเพศต่อผู้หญิงชาวคะฉิ่นในพื้นที่ความขัดแย้งผลักดันให้ผู้หญิงกลาย มาเป็นนักกิจกรรมเพื่อต่อต้านการกระทำความรุนแรงทางเทศ และยังมีบทบาทในฐานะผู้กระทำการ สำหรับความเปลี่ยนแปลงในสังคม อาสาสาสมัครผู้หญิงชาวคะฉิ่นบางคนเข้าร่วมในขบวนการทางสังคม เช่นเดียวกับชายชาวคะฉิ่นที่เข้าร่วมขบวนการชาตินิยมคะฉิ่นในการต่อสู้เพื่ออำนาจในการปกครอง ตนเองจากรัฐบาลเมียนมา และเพื่อสิทธิที่เท่าเทียม ผู้หญิงชาวคะฉิ่นได้ก่อตั้งองค์กรภาคประชาสังคม ในระดับท้องถิ่นเพื่อขยายพื้นที่สำหรับผู้หญิงในทางการเมืองและสิทธิสตรีในสังคม ผู้หญิงได้เข้าร่วม โดยตรงในการเดินขบวนประท้วงสาธารณะที่ก้าวข้ามข้อจำกัดทางจารีตและวัฒนธรรม จากการทำงาน ในระดับรากหญ้า ผู้หญิงชาวคะฉิ่นพยายามที่จะท้าทายบทบาทที่เคยถูกจำกัดและการเป็นภาพตัวแทน ของผู้หญิงในกระบวนการเริ่มสันติภาพระดับชาติ รวมถึงเพื่อเสริมสร้างการตระหนักรู้ต่อประเด็น เพศสภาวะในกลุ่มผู้หญิงด้วยกันอีกด้วย
Chiang Mai University. Library
Address: CHIANG MAI
Email: cmulibref@cmu.ac.th
Role: Advisor
Role: Advisor
Created: 2017
Modified: 2025-02-17
Issued: 2025-02-17
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
eng
Spatial: Burma
DegreeName: Master of Arts
Descipline: Social Sciences
©copyrights Chiang Mai University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 580435805.pdf 2.75 MB
ใช้เวลา
0.019193 วินาที

Nang Htoi Rawng
Title Contributor Type
Women's social movement, sexual violence, and conflict in Kachin State, Myanmar
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Nang Htoi Rawng
Amporn Jirattikorn
Rangsima Wiwatwongwana
วิทยานิพนธ์/Thesis
Amporn Jirattikorn
Title Creator Type and Date Create
Spaces of exception and shifting strategies of the Kokang Chinese along the Myanmar/China border
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Ronald D. Renard;Suriya Smutkupt;Yos Santasombat;Amporn Jirattikorn
Myint, Myint Kyu
วิทยานิพนธ์/Thesis
Burmese migrant workers : tactics of negotiation among domestic workers in Chang Klan community, Chiang Mai Province, Thailand
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Suchart Setthamalinee;Amporn Jirattikorn;Chayan Vaddhanaphuti
Duangkamon Doncha-Um
วิทยานิพนธ์/Thesis
Living in Two Countries:|bMigration Life for Japanese Retirees
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Shigeharu Tanabe;Mukdawan Sakboon;Amporn Jirattikorn
Miwa Shibuya
วิทยานิพนธ์/Thesis
Singing for survival in the highlands of Cambodia: Tampuan revitalization of music as mediation and cultural reflexivity
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Yves Goudineau;Chayan Vaddhanaphuti;Wasan Panyagaew;Prasit Leepreecha;Amporn Jirattikorn
Todd Wayne Saurman
วิทยานิพนธ์/Thesis
Burmese-Muslim social neworks in the borderland : A Case study of Islam Bamroong Muslim Community in Mae Sot, Tak Province, Thailand
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Soe Win Latt Sai;Amporn Jirattikorn;Chayan Vaddhanaphuti
Wahyu Kuncoro
วิทยานิพนธ์/Thesis
Spatio-temporal and political-economic construction of Mae Sai border town
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Kanokwan Manorom;Chusak Wittayapak;Jamaree Chiengthong;Amporn Jirattikorn;Wasan Panyagaew
Yuthpong chantrawarin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Body politics and affective performance of female flight attendants
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Varaporn Chamsanit;Apinya Fuengfusakul;Chusak Wittayapak;Amporn Jirattikorn;Mukdawan Sakboon
Arratee Ayuttacorn
วิทยานิพนธ์/Thesis
Asianization, imaination, fan culture and cultural capial of Vietnamese youth : a case study of K-pop cover dance grpups in Hanoi
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Suriya Smutkupt;Amporn Jirattikorn;Wasan Panyagaew
Phan Thanh Thanh
วิทยานิพนธ์/Thesis
Racing to the GMS Borderland: Viet Kieu and Vietnamese students at Rajabhat University in the northeast of Thailand
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Sita Sumrit;Amporn Jirattikorn;Chayan Vaddhanaphuti
Tanasak Phosrikun
วิทยานิพนธ์/Thesis
Regionalization through media consumption: the consumption of Thai and Filipino soap operas among Vietnamese audiences
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Pimsen Buarapha;Amporn Jirattikorn;Alexandra Denes
Nguyen Thi Tu Anh
วิทยานิพนธ์/Thesis
Violence against women in Shan Migrant communities in Chiang Mai and the role of NGOs in support of Victims
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Jenifer Leehey;Amporn Jirattikorn;Rangsima Wiwatwongwana
Jessica Counsell
วิทยานิพนธ์/Thesis
Shan migrant entrepreneurship in Rotational Market Space in Chiang Mai, Thailand
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Kyoko Kusakabe;Amporn Jirattikorn;Prasit Leepreecha
Sai Kham Phu
วิทยานิพนธ์/Thesis
India’s Kaladan Transnational Development Project and the Response of Civil Society in Western Burma
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Jennifer Leehey;Amporn Jirattikorn;Mukdawan Sakboon
Nilian Sang
วิทยานิพนธ์/Thesis
The Transnational Rohingyas in Southeast Asia and Beyond: Stateless Identity and Migration Experience
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Jennifer Leehey;Amporn Jirattikorn;Chayan Vaddhanaphuti
Janina Straif
วิทยานิพนธ์/Thesis

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Philip Hirsch;Ta-Wei Chu;Amporn Jirattikorn
Maw Thoe Myar
วิทยานิพนธ์/Thesis
Myanmar migrant workers in Japanese firms and the impact of human capital accumulation on migrants and their families: a case study of Thilawa special economic zone in Myanmar
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Kvoko Kusakabe;Amporn Jirattikorn;Ta-Wei Chu
Khant Khant Zar Nyi
วิทยานิพนธ์/Thesis
Hmong dubbed series: the production and consumption of asian dreams among Hmong community in Lao PD
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Jennifer Leehey;Amporn Jirattikorn;Prasit Leepreecha
Alounyang Yongye
วิทยานิพนธ์/Thesis
When the voiceless speak: Rohingya networks and the construction of Rohingya representation in Thailand
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Amporn Jirattikorn;Kwanchewan Buadaeng;Ta-Wei Chu
Kunnawut Boonreak
วิทยานิพนธ์/Thesis
Chinese female writers production and female fans interpretation of Danmei novels
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Amporn Jirattikorn;Paiboon Hengsuwan;Ariya Svetamra
Su, Yiqi
วิทยานิพนธ์/Thesis
Gender inequality in higher education of engineering studies in Bangladesh
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Amporn Jirattikorn;Prasit Leepreecha
Nazmul Islam
วิทยานิพนธ์/Thesis
Armed capitalism and livelihood insecurity of Kachin sugarcane contract farmers in the liminal zone of Kachin-China border
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Mukdawan Sakboon;Amporn Jirattikorn
Lashi Nu Ra
วิทยานิพนธ์/Thesis
Local resistance against Chinese and Kachin joint-venture agribusiness investment on banana plantation: a case study of Mukchyik Village, Kachin State, Myanmar
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Amporn Jirattikorn;Chu, Ta-Wei
Seng Li
วิทยานิพนธ์/Thesis
Sustainable tourism in “Chiang Khong - one city two patterns” development model, Chiang Khong District, Chiang Rai Province
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Chusak Wittayapak;Amporn Jirattikorn
Worachet Potawong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Community based tourism in Saw Lawng Village: Understanding and participation of local Chin Community in Chin State, Myanmar
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Amporn Jirattikorn;Prasit Leepreecha;Mukdawan Sakboon
Salai Vanni Bawi
วิทยานิพนธ์/Thesis
Practices of reconciliation in the Anlong Veng Community, Cambodia
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Amporn Jirattikorn;Ta-Wei Chu
Sovann Mam
วิทยานิพนธ์/Thesis
Women's social movement, sexual violence, and conflict in Kachin State, Myanmar
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Amporn Jirattikorn;Rangsima Wiwatwongwana
Nang Htoi Rawng
วิทยานิพนธ์/Thesis
Rangsima Wiwatwongwana
Title Creator Type and Date Create
Violence against women in Shan Migrant communities in Chiang Mai and the role of NGOs in support of Victims
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Jenifer Leehey;Amporn Jirattikorn;Rangsima Wiwatwongwana
Jessica Counsell
วิทยานิพนธ์/Thesis
Education in emergency: a case study of the jeyang internal displaced community, Kachin State, Myanmar
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Paul T. Cohen;Kwanche Buadaeng;Rangsima Wiwatwongwana
Ja San Ra
วิทยานิพนธ์/Thesis
Potential of blockchain technology on the real estate sector
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Tyrell Haberkorn;Ariya Svetamra;Apinya Fuengfusakul;Rangsima Wiwatwongwana
Supharoek Siriphen
วิทยานิพนธ์/Thesis
Women's social movement, sexual violence, and conflict in Kachin State, Myanmar
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Amporn Jirattikorn;Rangsima Wiwatwongwana
Nang Htoi Rawng
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 640
รวม 640 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 37,372 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 22 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 8 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 5 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 37,410 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48