แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การประเมินประสิทธิภาพของสูตรตำรับพืชสมุนไพรไทยในการต้านภาวะผมร่วง
Efficacy evaluation of Thai herbal formulations against hair loss

ThaSH: พืชสมุนไพร
ThaSH: ตำรับพืชสมุนไพร
ThaSH: ภาวะผมร่วง
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านภาวะผมร่วงของพืชสมุนไพรไทยและสร้างสูตร ตํารับสมุนไพรรักษาผมร่วง โดยใช้สารสกัดไฟโตสเตอรอล (phytosterols) และการสกัดฟลาโวนอยด์ (flavonoids) จากพืชสมุนไพรจํานวน 6 ชนิด ได้แก่ นมวัว (Uvania rufa Blume) นมแมว (4nomianthus dulcis (Dunal) I. Sinclair) นมควาย (Artabotays harmandii Finet & Gagnep.) เกล็ดปลาช่อน (Phyllodium pulchellum) ฝาง (Caesalpinia sappan L.) และตําลึง (Coccinia grandis) ศึกษาฤทธิ์ต้าน ภาวะผมร่วงในหลอดทดลองของสารสกัดดังกล่าว 3 วิธีการ ได้แก่ การทดสอบฤทธิ์กระตุ้นการงอก ของเซลล์รากขน การทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ 5d-reductase และการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ สารสกัดที่ให้ผลอย่างประสิทธิภาพในการทดสอบในหลอดทดลอง ได้แก่ สารสกัดฟลาโว นอยด์จากนมวัว นมแมว ฝาง และเกล็ดปลาช่อน และสารสกัดไฟโตสเตอรอลจากนมควาย นําสาร สกัดเหล่านี้ไปสร้างสูตรตํารับสมุนไพรต้านผมร่วงจํานวน 15 ตํารับ แล้วนําตํารับที่สร้างได้ไป ทดสอบฤทธิ์กระตุ้นการงอกของเซลล์รากขน และการทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ 5d-reductase อีก ครั้งหนึ่ง ผลการทดลองพบว่าสูตรตํารับที่ให้ผลอย่างมีประสิทธิภาพ 2 ตํารับ คือ สูตรตํารับที่ 1 ประกอบด้วยสารสกัดฟลาโวนอยด์จากเกล็ดปลาช่อน ฝาง และนมวัว ในอัตราส่วน 1:3:1 และสูตร ตํารับที่ 5 ประกอบด้วยสารสกัดฟลาโวนอยด์จากเกล็ดปลาช่อน ฝาง และนมวัว ในอัตราส่วน4:0.5:0.5 สูตรตํารับ 2 ตํารับนี้ถูกคัดเลือกไปทดสอบฤทธิ์ต้านภาวะผมร่วงในหนูทดลอง โดยเทียบผลการ ทดลองกับยาสังเคราะห์ชนิด finasteride และ minoxidil จากการศึกษาพบว่าสูตรตํารับทั้ง 2 ตํารับ กระตุ้นการงอกใหม่ของเส้นขนได้เร็วกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยหนู ทดลองที่ได้รับสูตรที่ 1 และ 5 มีเส้นขนเริ่มขึ้นในวันที่ 14 และ 21 ของการทดลอง ตามลําดับ อีกทั้งกลุ่มที่ได้รับสูตรตํารับที่ 5 แสดงความหนาแน่นของต่อมรากขนสูงที่สุด เมื่อเทียบกับกลุ่มอื่น และ แสดงระยะ anagen ทั้งหมด สูตรตํารับทั้ง 2 ตํารับสามารถเพิ่มระดับสารต้านอนุมูลอิสระ รวมทั้งยับยั้ง การเกิด lipid peroxidation ในเนื้อเยื่อผิวหนัง เมื่อเทียบกับกลุ่ม negative control อย่างมีนัยสําคัญ นอกจากนี้สูตรตํารับทั้ง 2 ตํารับสามารถออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ 5C-reductase ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยแสดงระดับฮอร์โมน testosterone ในเนื้อเยื่อผิวหนังอยู่ในระดับเดียวกับกลุ่มที่ได้รับยา finasteride ดังนั้นสูตรตํารับทั้ง 2 ตํารับที่ประกอบด้วยสารสกัด ฟลาโวนอยด์ของเกล็ดปลาช่อน ฝาง และ นมวัวมีศักยภาพด้านภาวะผมร่วงผ่านกลไกการกระตุ้นการงอกของเส้นผม ยับยั้งภาวะเครียดออกซิ เคชั่น และยับยั้งเอนไซม์ 5d-reductase และสามารถนําไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ป้องกันรักษาภาวะผม ร่วงต่อไป
Abstract: The aims of this study are to evaluate the efficacy of Thai herbal extracts against hair loss and to develop herbal formulations for treating hair loss. Phytosterol extracts and flavonoid extracts from 6 medicinal plants including Nom-wau (Uvaria rufa Blume), Nom-maew (Anomianthus dulcis (Dunal) J. Sinclair), Nom-kwai (Artabotrys harmandii Finet & Gagnep.), Kled-pla-chon (Phyllodium pulchellum), Fang (Caesalpinia sappan L.) and Tum-leung (Coccinia grandis) were examined for their anti-hair loss effects by 3 in vitro analysis, the assessment of hair follicle elongation, 5α-reductase inhibitory activity and antioxidant activity. The most effective extracts in in vitro studies were flavonoid extracts from Nom-wau, Nom-maew, Fang and Kled-pla-chon as well as phytosterol extract from Nom-Kwai. Fifteen anti-hair loss formulas were prepared from those extracts and then tested for their activities in promoting hair follicle elongation and inhibiting 5α-reductase activity. The results showed that there were 2 potent formulas with anti-hair loss activity, formula 1 and formula 5. The formula 1 is composed of flavonoid extracts from Kled-pla-chon Fang and Nom-wau with a proportion of 1:3:1 and the formula 5 is composed flavonoid extracts from Kled-pla-chon Fang and Nom-wau with a proportion of 4:0.5:0.5. Theses 2 formulas were selected for in vivo evaluation of anti-hair loss activity. The obtained results were compared with those of synthetic drugs ; finasteride and minoxidil. Our results demonstrated that mice treated with both formulas regrew their hair faster than control mice. Mice treated with formula 1 and formula 5 exhibited initial hair regrowth on day 14 and day 21 of the experiment, respectively. Also, the group treated with formula 5 showed the highest density of hair follicles as compared to other groups and their hair were all in anagen stage. Both formulas significantly increased antioxidant levels and significantly decreased lipid peroxidation in the skin tissues as compared to the negative control. In addition, both formulas effectively inhibited 5α-reductase activity since they significantly promoted skin tissue testosterone as the same level as finasteride. Thus, both formulas which consisted of flavonoid extracts from Kled-pla-chon, Fang and Nom-wau have potent anti-hair loss effects by inducing hair regrowth, inhibiting oxidative stress, and inhibiting 5α-reductase. Also, the formulas could be further developed into anti-hair loss products.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สำนักหอสมุด
Address: เชียงใหม่
Email: cmulibref@cmu.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Created: 2563
Modified: 2568-01-18
Issued: 2568-01-18
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 600531130.pdf 5.51 MB1 2025-02-25 18:32:07
ใช้เวลา
-0.978564 วินาที

พัชริดา เพ็ญภาคกุล
Title Contributor Type
การประเมินประสิทธิภาพของสูตรตำรับพืชสมุนไพรไทยในการต้านภาวะผมร่วง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พัชริดา เพ็ญภาคกุล
กนกพร แสนเพชร
วิทยานิพนธ์/Thesis
กนกพร แสนเพชร
Title Creator Type and Date Create
ผลของสารสกัดด้วยน้ำจากเมล็ดมะละกอ (Caricu papaya Linn.) ที่เก็บมาจากแหล่งในจังหวัดเชียงใหม่และสุโขทัยต่อการสืบพันธุ์และผลข้างเคียงต่อหนูขาวเพศผู้
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กนกพร แสนเพชร;สาลิกา อริธชาติ;อารยา จาติเสถียร
สนธยา เนืองศิลป
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลในสภาพทดลองของสารสกัดด้วยน้ำจากมะหาด (Artocarpus takoocha Roxb.) ราชพฤกษ์(Cassia fistula Linn.) และแก้ว (Murraya paniculata Jack.) ที่มีต่อพื้นผิวพยาธิใบไม้ Haplorchis taichui
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชโลบล วงศ์สวัสดิ์;กนกพร แสนเพชร;จิราพร โรจน์ทินกร
ภัสสร์พัณณ์ หลวงไผ่
วิทยานิพนธ์/Thesis
พฤติกรรมของนกกก (Buceros bicornis) ในกรงเลี้ยงที่สวนสัตว์เชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นริทธิ์ สีตะสุวรรณ;กนกพร แสนเพชร;กาญจน์ชัย แสนวงศ์
พัชรีญาพร ปัญญาอาจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การทดสอบความเป็นพิษของสาหร่าย Microcystis aeruginosa ต่อปลานิล Oreochromis niloticus
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กนกพร แสนเพชร;ยุวดี พีรพรพิศาล;เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน;สาลิกา อริธชาติ
ปรานต์นภัส ฟ้าประทานชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของสารสกัดจากหนอนตายหยาก (Stemona curtisii Hook.F.) ต่อการสืบพันธุ์ของหนูขาวเพศผู้
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ยุทธนา สมิตะสิริ;กนกพร แสนเพชร;อารยา จาติเสถียร;นริทธิ์ ลีตะสุวรรณ
อภิฤทธิ์ จิตใจงาม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ประสิทธิภาพพืชท้องถิ่นบางชนิดในการกำจัดเห็บ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปราโมช ศีตะโกเศศ;อารยา จาติเสถียร;กนกพร แสนเพชร
สุกานดา ไชยยง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของสารกำจัดแมลงชีวภาพจากหนอนตายหยาก (Stemona curtisii Hook.F.) และสารภี (Mammea siamensis Miq. T.) ต่อระดับอะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสและกิจกรรมไลโซไซม์ในปลานิล (Oreochromis niloticus)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน;กนกพร แสนเพชร;อารยา จาติเสถียร
ไพบูลย์ ปะนาเส
วิทยานิพนธ์/Thesis
พฤติกรรมทางสังคมของนกแขวกในสภาพกรงเลี้ยง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กนกพร แสนเพชร;นริทธิ์ สีตะสุวรรณ;กาญจน์ชัย แสนวงศ์
ธนวัช แก่นท้าว
วิทยานิพนธ์/Thesis
สำเนียงถิ่นของนกกะรางหัวหงอก (Garrulax leucolophus)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นริทธิ์ สีตะสุวรรณ;กนกพร แสนเพชร;กาญจน์ชัย แสนวงศ์
สุวิมล ชินกังสดาร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสามารถในการเรียนรู้ของหมีควายและหมีหมาในสภาพกักขังของสวนสัตว์เชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นริทธิ์ สีตะสุวรรณ;กนกพร แสนเพชร;กาญจน์ชัย แสนวงศ์
ณัฐธิดา พื้นผาสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลกระทบของการเลี้ยงปลาในกระชังต่อคุณภาพน้ำและความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชในอ่างเก็บน้ำบริเวณโรงไฟฟ้าแม่เมาะ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศิริเพ็ญ ตรัยไชยาพร;กนกพร แสนเพชร;นิวุฒิ หวังชัย
ชินุมา ปิ่นเกตุ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสำรวจนกที่กระจายเมล็ดตองแตบที่สถานีวิจัยสัตว์ป่าดอยเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประทีป โรจนดิลก;นริทธิ์ สีตะสุวรรณ;กนกพร แสนเพชร
นุชจรีย์ สิงคราช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การทดสอบความเป็นพิษของสารชีวภาพกำจัดแมลงจากเมล็ดสะเดา (Azadirachta indica A. Juss.)ต่อปลานิล (Oreochromis niloticus)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพชร;จงกล พรมยะ
วรวุฒิ ถาวร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจหาพยาธิใบไม้ Haplorchis taichui Witenberg, 1930 ในหอยฝาเดียว จากอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ไพรเมอร์แบบจำเพาะ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดวงเดือน ไกรลาศ;ชโลบล วงศ์สวัสดิ์;กนกพร แสนเพชร
ฐาปนา ชลธนานารถ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ค่าโลหิตวิทยา และกิจกรรมของไลโซไซม์ของงูหลามปากเป็ดในสภาพกรงเลี้ยง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สิทธิเดช มหาสาวังกุล;กนกพร แสนเพชร;สุเทพ แสนเพชร
ตุลยวรรธ สุทธิแพทย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตหนูขาวเพื่อการค้าของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บังอร ศิริสัญลักษณ์;รุจ ศิริสัญลักษณ์;สุรพล เศรษฐบุตร;กนกพร แสนเพชร
ฐิตารีย์ ธีรวงศ์เดชาวุฒิ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การทดสอบความเป็นพิษด้านการสืบพันธุ์ของสารสกัดจากหนอนตายหยาก (Stemona spp.) ในหนูขาวเพศผู้
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ยุทธนา สมิตะสิริ;สาลิกา อริธชาติ;กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพชร
จิตติกานต์ อินต๊ะโมงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาทางชีวเคมีของเลือดและจุลพยาธิสภาพของหนูขาวเพศ ผู้ที่ได้รับสารสกัดจากหนอนตายหยาก (Stemona spp.)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สาลิกา อริธชาติ;ยุทธนา สมิตะสิริ;กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพชร
วรารัตน์ บุญเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสื่อสารและการตอบสนองต่อโมเดลเสียงของหมีควาย (Urusu thibetanus) ในสภาพกักขังที่เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กาญจน์ชัย แสนวงศ์;นริทธิ์ สีตะสุวรรณ;กนกพร แสนเพชร
อนันต์ แก้วคำมูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
พฤติกรรมและระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลของเลียงผา (Capricornis sumatraensis) ในสภาพกักขังในสวนสัตว์เชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กาญจน์ชัย แสนวงศ์;นริทธิ์ สีตะสุวรรณ;กนกพร แสนเพชร
มณิสร เตือนธรรมรักษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การทดสอบพิษก่อกลายพันธุ์และพิษกึ่งเรื้อรังของสารสกัดจากใบมะรุม (Moringa oleifera Lam.)และใบว่านพญาวานร (Pseuderanthemum palatiferum (Nees) Radlk.) ในหนูขาวเพศผู้
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วาที คงบรรทัด;กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพชร
ธนวิทย์ ทองใหม่
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปฏิสัมพันธ์ของสารกาจัดศัตรูพืชและรังสียูวี-บีต่อตัวอ่อนกบนา (Hoplobatrachus rugulosus)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จงกล พรมยะ;กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพชร
วเรศ ตราชื่นต้อง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ฤทธิ์ต้านการอักเสบของสารสกัดเอทานอลจากใบว่านพญาวานร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วาที คงบรรทัด;สุภาพ แสนเพชร;ดวงพร อมรเลิศพิศาล;กนกพร แสนเพชร
ทัดดาว คำปุก
วิทยานิพนธ์/Thesis
การย้อมเซลล์ประสาทด้วยสีจากธรรมชาติ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ยุทธนา สมิตะสิริ;กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพขร
นพมาศ พิทักษ์กมลรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กายวิภาคเปรียบเทียบการไหลเวียนเลือดแบบวงจรเดียวและแบบสองวงจร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ยุทธนา สมิตะสิริ;กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพขร
ดวงเนตร สุขรักษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตอบสนองเชิงแฮบิทูเอชันต่อวัตถุต่างชนิดและพฤติกรรมบางประการของปลาทอง (Carasius auratus)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นริทธิ์ สีตะสุวรรณ;กนกพร แสนเพชร;สวัสดิ์ สนิทจันทร์
ศันสนีย์ จันทร์ธีระโรจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของไคโตซานและไซเปอร์เมทรินต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและจุลกายวิภาคของไตในตัวอ่อนกบนา (Hoplobatrachusrugulosus)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นริทธ์ สีตะสุวรรณ;กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพชร
ไพฑูรย์ แสนจันต๊ะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของสารสกัดจากข้าวเหนียวพันธุ์เหนียวสันป่าตอง (Oryza sativa L. var. Niaw San-pah-tawng) ที่หมักด้วย ราโมเนสคัส (Monascus purpureus) ต่ออสุจิหนูขาวที่ได้รับอาหารที่มีไขมันสูงและโคเลสเตอรอลสูง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ยุทธนา สมิตะสิริ;สุภาพ แสนเพชร;กนกพร แสนเพชร
บุญโฮม ปัญญามิ่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสอบศักยภาพลดระดับไขมันในเลือดของสารสกัดจากข้าวเหนียวพันธุ์เหนียวสันป่าตอง (Oryza sativa L.) ที่หมักด้วยราโมเนสคัส (Monascus purpureus)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สาลิกา อริธชาติ;กนกพร แสนเพชร;สายสมร ลำยอง;สุภาพ แสนเพชร
อนุรักษ์ บุญน้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ฤทธิ์ป้องกันแผลในกระเพาะอาหารและการต้านออกซิเดชันของสารสกัดจากรากกระพังโหม (Paederia pilifera Hook.f.)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดวงพร อมรเลิศพิศาล;กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพชร
กานตรัตน์ จิรากิตติรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจสารต้านอนุมูลอิสระและประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระของเปล้าน้อย (Croton decalvatus) ปอเจี๋ยน (Phanera bracteata) และขาเปีย (Hymenopyramis brachiata)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิลาศ พุ่มพิมล;สุภาพ แสนเพชร;กนกพร แสนเพชร
พงศ์ปณต สมคำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจวัดระดับโปรแลกตินและคอร์ติซอลในช้างเอเชีย (Elephas maximus L.) ที่ตั้งท้อง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์;กนกพร แสนเพชร;ฉัตรโชติ ทิตาราม;ชัชชัย ตะยาภิวัฒนา
พัชราภา โตวิบูลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ทางพันธุกรรมของกบหงอน Limnonectes gyldenstolpei และกบห้วยขาปุ่มเหนือ Limnonectes taylori
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฉัตรมงคล สุวรรณภูมิ;สิริวดี ชมเดช;กนกพร แสนเพชร
พิมพ์วิภา ธีระวรัญญู
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลยับยั้งของชาสมุนไพรต่อเอนไซม์บางชนิดที่เกี่ยวข้องกับภาวะนํ้าตาลในเลือดสูงและไขมันในเลือดสูง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อดิศักดิ์ จูมวงษ์;กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพชร
อนวัช ติลกวัฒโนทัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของสารสกัดจากเหง้าของไพล (Zingiber cassumunar Roxb.) ต่อการ สะสมไขมันในเซลล์เชื้อสาย L929
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เกวลิน อินทนนท์;กนกพร แสนเพชร;วีระ วงศ์คำ
รุ่งนภา ศรีริวิจิตชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ฤทธิ์ปกป้องตับและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของชาหมักคอมบูชาผสมกับสารสกัดจากใบหูกวาง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วาที คงบรรทัด; กนกพร แสนเพชร;สุภาพ แสนเพชร
มัตติกา จันทร์ลือ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาสูตรตำรับยาสมุนไพรไทยสำหรับการรักษาภาวะนิ่วทางเดินปัสสาวะทางเดินปัสสาวะ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กนกพร แสนเพชร
ทัศนีย์ ติ๊บกวาง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการสินค้าคงคลังของวัตถุดิบหลักในการผลิตสายพานลำเลียงของ บริษัท สยาม ไวร์ เน็ตติ้ง จำกัด
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วรารัตน์ บุญเจริญ;กนกพร แสนเพชรอ
ธนภรณ์ ทองอิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาสูตรตำรับสมุนไพรไทยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางเพศของหนูเพศผู้ที่ถูกชักนำให้อยู่ในภาวะอ้วน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วรารัตน์ บุญเจริญ;กนกพร แสนเพชรอ
ภาณุมาศ ปิวศิลป์ศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประเมินประสิทธิภาพของสูตรตำรับพืชสมุนไพรไทยในการต้านภาวะผมร่วง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กนกพร แสนเพชร
พัชริดา เพ็ญภาคกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 32
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,977
รวม 3,009 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 131,444 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 508 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 328 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 36 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 34 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 132,356 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48