แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Effectiveness of the secondhand smoke self-prevention program of pregnant women with smoking family members
ประสิทธิผลของโปรแกรมการป้องกันตนเองจากควันบุหรี่มือสองของหญิงตั้งครรภ์ที่สมาชิกในครอบครัวสูบบุหรี่

LCSH: Tobacco -- Physiological effect
LCSH: Pregnant women
LCSH: Passive smoking
LCSH: Cigarette smoke
LCSH: Cigarette smoke
Abstract: Pregnant women with smoking family members are at risk of exposure to secondhand smoke, which has negative effects on pregnancy for both the mother and the fetus. Therefore, self-prevention behavior of pregnant women from exposure to secondhand smoke is important. This mixed methods study employed a combination of qualitative and quantitative approaches to explore the situation and needs of pregnant women to protect themselves from exposure to secondhand smoke and to examine the effectiveness of the secondhand smoke self-prevention program of pregnant women with smoking family members. The qualitative sample consisted of 9 antenatal care staffs, 17 pregnant women, and 14 smoking family members. Qualitative data were collected using a structured interview and analyzed using thematic analysis. The quantitative study was a randomized controlled trial. The sample consisted of 98 pregnant women with smoking family members. They were randomly assigned to an experimental arm and a control arm, with 49 participants in each arm. Quantitative data were collected using questionnaires on knowledge about secondhand smoke, self-efficacy, and secondhand smoke self-prevention behavior of pregnant women with smoking family members, and urinary nicotine detection in pregnant women using the Elisa test. Data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square test, and repeated measures ANOVA. The qualitative results revealed five themes, including unclear understanding of secondhand smoke ; influences shaping perceptions related to secondhand smoke ; attempt to prevent secondhand smoke exposure ; barriers to prevention of secondhand smoke exposure ; and needs related to prevention of secondhand smoke exposure. The quantitative results showed that: 1. After receiving the program, the knowledge about secondhand smoke, self-efficacy and self-prevention behavior from secondhand smoke of pregnant women with smoking family members were higher than before receiving the program. 2. After receiving the program, the urinary nicotine of pregnant women was lower than before receiving the program. From the findings, it is recommended to explore the situation and needs of pregnant women, antenatal care staffs, and smoking family members in order to recognize their needs and plan activities in the program to prevent secondhand smoke that are appropriate for pregnant women. Smoking family members should be involved in the program incorporating activities to provide knowledge, and enhance their self-efficacy and skills for preventing secondhand smoke along with pregnant women.
Abstract: หญิงตั้งครรภ์ที่มีสมาชิกในครอบครัวสูบบุหรี่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง ซึ่ง ส่งผลเสียต่อการตั้งครรภ์ ทั้งตัวมารดาเองและทารกในครรภ์ พฤติกรรมการป้องกันตนเองของหญิงหญิง ตั้งครรภ์จากการสัมผัสควันบุหรี่มือสองจึงเป็นสิ่งสำคัญ การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาสถานการณ์และความต้องการในการป้องกันตนเองจากการ สัมผัสควันบุหรี่มือสอง ของหญิงตั้งครรภ์ และเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการป้องกันตนเอง จากควันบุหรี่มือสองของหญิงตั้งครรภ์ที่มีสมาชิกในครอบครัวสูบบุหรี่ กลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพ ได้แก่ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการฝากครรภ์ 9 คน หญิงตั้งครรภ์ 17 คน และสมาชิกในครอบครัวที่สูบ บุหรี่ 14 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้เครื่องมือ คือแนวการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์แก่นสาระ(Thematic Analysis) และการวิจัยเชิงปริมาณเป็น การศึกษาเชิงทดลองสุ่มแบบมีกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างประกอบไปด้วยหญิงตั้งครรภ์ที่มีสมาชิกใน ครอบครัวสูบบุหรี่จำนวน 98 คน ได้รับการสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 49 คน เก็บ รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบบสอบถามความรู้เรื่องควันบุหรีมือสอง การรับรู้สมรรถนะแห่ง ตน พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากควันบุหรี่มือสองของหญิงตั้งครรภ์ที่มีสมาชิกในครอบครัวสูบ บุหรี่ และการตรวจหาปริมาณนิโคตินในปัสสสาวะของหญิงตั้งครรภ์โดยใช้การทคสอบแบบ Elisa test วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทศสอบไคสแควร์ และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ วัดซ้ำผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า มี 5 ประการสำคัญ ได้แก่ ความเข้าใจที่ไม่ชัดเจนเกี่ยวกับควัน บุหรี่มือสอง อิทธิพลที่มีผลต่อการรับรู้เกี่ยวกับควันบุหรี่มือสอง ความพยายามในการป้องกันการ สัมผัสควันบุหรี่มือสอง อุปสรรคในการป้องกันการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง และความต้องการ เกี่ยวกับการป้องกันการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง ผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า: 1. หลังจากได้รับโปรแกรม ความรู้เรื่องควันบุหรี่มือสอง การรับรู้สมรรถนะแห่งตน พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากควันบุหรี่มือสองของหญิงตั้งครรภ์ที่มีสมาชิกในครอบครัวสูบบุหรี่ สูงกว่าก่อนรับโปรแกรม 2. หลังจากได้รับโปรแกรม ระดับนิโคตินในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ลดลงกว่าก่อนได้รับ โปรแกรม ข้อเสนอแนะจากการวิจัยนี้ ควรมีการศึกษาสถานการณ์!และความต้องการของสตรีตั้งครรภ์ บุคลากรทางการแพทธ์ที่เกี่ยวข้องกับการฝากครรภ์ และสมาชิกในครอบครัวที่สูบบุหรี่ เพื่อให้ทราบ ถึงความต้องการและวางแผนในการจัดกิจกรรมในโปรแกรมในการป้องกันควันบุหรี่มือสองให้ เหมาะสมกับหญิงตั้งครรภ์ รวมทั้งควรนำสมาชิกในครอบครัวที่สูบบุหรี่เข้ามามีส่วนร่วมในโปรแกรม โดยมีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ การเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนเอง และทักษะการ ป้องกันตนเองจากควันบุหรี่มือสองร่วมกับหญิงตั้งครรภ์
Chiang Mai University. Library
Address: CHIANG MAI
Email: cmulibref@cmu.ac.th
Role: Advisor
Role: Advisor
Role: Advisor
Created: 2024
Modified: 2025-04-03
Issued: 2025-01-10
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
eng
©copyrights Chiang Mai University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 622251005.pdf 10.45 MB1 2025-04-18 15:29:13
ใช้เวลา
0.024786 วินาที

Sunisa Chansaeng
Title Contributor Type
Effectiveness of the secondhand smoke self-prevention program of pregnant women with smoking family members
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Sunisa Chansaeng
Waraporn Boonchieng
Warangkana Naksen
Napaphat Poprom
วิทยานิพนธ์/Thesis
Waraporn Boonchieng
Title Creator Type and Date Create
Effectiveness of an HIV/AIDS prevention program for male sex workers in Chinag Mai province
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Waraporn Boonchieng;Hathaikan Chowwanapoonpohn;Puckwipa Suwannaprom;Penkran Kanjanarat;Manoon Jaikueankaew
Phutthipong Makmai
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of a community-based model for preventing sexual risk behaviors among adolescents
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Achara Sukonthasarn;Warunee Fongkaew;Nongkran Visekul;Waraporn Boonchieng;Joachim G. Voss;Jindarat Chaiard;Ratanawadee Chontawan
Saowaluck Settheekul
วิทยานิพนธ์/Thesis
Prevalence and Factors Associated with Postpartum Depression Among Mothers Attending Postnatal Care at Gyaltsuen Jetsun Pema Mother and Child Hospital (GJPMCH), Bhutan
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Pallop Siewchaisakul;Waraporn Boonchieng;Chalinee Suvanayos
Sherab, Zangmo
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of community reproductive health care model for Lahu women
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Waraporn Boonchieng;Tawatchai Apidechkul;Warangkana Naksen
Soontaree Suratana
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effectiveness of the secondhand smoke self-prevention program of pregnant women with smoking family members
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Waraporn Boonchieng;Warangkana Naksen;Napaphat Poprom
Sunisa Chansaeng
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of buddhist-based mental health counseling program led by monks for Thai older adults
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Waraporn Boonchieng;Sineenarat Chautrakarn;Narong Maneeton
Saowalak Langgapin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Warangkana Naksen
Title Creator Type and Date Create
Exposure to insecticides and impact on steroid hormones in farmworkers in Chiang Mai Province
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Tippawan Prapamontol;Ampica Mangklabruks;Tawiwan Pantasri;Somporn Chantara;Warangkana Naksen ;Shoji F. Nakayama
Neeranuch Suwannarin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of community reproductive health care model for Lahu women
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Waraporn Boonchieng;Tawatchai Apidechkul;Warangkana Naksen
Soontaree Suratana
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effectiveness of the secondhand smoke self-prevention program of pregnant women with smoking family members
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Waraporn Boonchieng;Warangkana Naksen;Napaphat Poprom
Sunisa Chansaeng
วิทยานิพนธ์/Thesis
Napaphat Poprom
Title Creator Type and Date Create
The Factors associated with emergency services in Chiang Mai Province, Thailand
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Napaphat Poprom;Aksara Thongprachum
Mohamed Mostafa Ibrahem, Sherin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effectiveness of the secondhand smoke self-prevention program of pregnant women with smoking family members
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Waraporn Boonchieng;Warangkana Naksen;Napaphat Poprom
Sunisa Chansaeng
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 73
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,165
รวม 3,238 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 110,668 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 624 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 623 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 83 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 68 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 51 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 15 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 9 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 112,142 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48