แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การพัฒนาหุ่นจำลองฝึกปฏิบัติการดูดเสมหะสำหรับนิสิตกายภาพบำบัด
Development of Suction Model for Suction Skill Practice of Physical Therapy Students

Address: อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

Address: อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
keyword: หุ่นดูดเสมหะ
; นวัตกรรม
; กายภาพบำบัด
; Suction models
; Innovation
; Physical therapy
Abstract: ทักษะการดูดเสมหะ เป็นหนึ่งในทักษะที่นักกายภาพบำบัดควรปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง การใช้หุ่นจำลองช่วยในการเรียนรู้จึงเป็นสิ่งสำคัญ ปัจจุบันหุ่นจำลองส่วนใหญ่ราคาจำหน่ายค่อนข้างสูง จึงมีใช้อย่างจำกัดในสถานศึกษา นักวิจัยจึงได้คิดประดิษฐ์หุ่นจำลองฝึกปฏิบัติการดูดเสมหะที่ต้นทุนต่ำขึ้น สำหรับใช้ในการเรียนการสอนของนิสิตกายภาพบำบัด วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของหุ่นจำลองฝึกปฏิบัติการดูดเสมหะที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ศึกษาในนิสิตกายภาพบำบัดชั้นปีที่ 3 จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบประเมินประสิทธิภาพหุ่นจำลองฝึกปฏิบัติการดูดเสมหะ และแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานหุ่นจำลองฝึกปฏิบัติการดูดเสมหะ ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพหุ่นจำลองโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (4.69 ± 0.47 คะแนน) และค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยรวมของผู้ใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุด (4.58 ± 0.50 คะแนน) สรุปได้ว่า หุ่นจำลองฝึกปฏิบัติการดูดเสมหะที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้เพื่อส่งเสริมทักษะการดูดเสมหะสำหรับนิสิตกายภาพบำบัดก่อนฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยจริงได้
Abstract: Suction skills are essential for physiotherapists to practice correctly. The use of suction models in learning is crucial. Currently, suction models are generally expensive, limiting their use in education. Researchers developed a low-cost suction model for practicing phlegm suctioning, particularly for physiotherapy student education. The objectives were to study the effectiveness of the developed suction model and to assess user satisfaction. The study involved 50 third-year physiotherapy students. Research tools included an assessment of the suction model's effectiveness and an evaluation of user satisfaction. The study found that the average effectiveness of the suction model was very high (4.69 ± 0.47 points), and overall user satisfaction was also very high (4.58 ± 0.50 points). In conclusion, the developed suction model for practicing phlegm suctioning can effectively enhance the skills of physiotherapy students before they practice on real patients.
มหาวิทยาลัยพะเยา.ศูนย์บรรณสารและการเรียนรู้
Address: พะเยา
Email: clm@up.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Created: 2567
Modified: 2568-01-02
Issued: 2568-01-02
tha
©copyrights
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.013533 วินาที

พัชรินทร์ พรหมเผ่า
Title Contributor Type
การเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายระหว่างสตรีวัยหลังหมดระดูที่กลัวและไม่กลัวการล้ม
มหาวิทยาลัยพะเยา
พัชรินทร์ พรหมเผ่า
อรุณรัตน์ ศรีทะวงษ์
งานวิจัย/Research report
การพัฒนาหุ่นจำลองฝึกปฏิบัติการดูดเสมหะสำหรับนิสิตกายภาพบำบัด
มหาวิทยาลัยพะเยา
พัชรินทร์ พรหมเผ่า;พลากร อุดมกิจปกรณ์
อรุณรัตน์ ศรีทะวงษ์
งานวิจัย/Research report
พลากร อุดมกิจปกรณ์
Title Contributor Type
การพัฒนาหุ่นจำลองฝึกปฏิบัติการดูดเสมหะสำหรับนิสิตกายภาพบำบัด
มหาวิทยาลัยพะเยา
พัชรินทร์ พรหมเผ่า;พลากร อุดมกิจปกรณ์
อรุณรัตน์ ศรีทะวงษ์
งานวิจัย/Research report
อรุณรัตน์ ศรีทะวงษ์
Title Creator Type and Date Create
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 4,282
รวม 4,282 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.10