แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การวิเคราะห์ผลกระทบของลมจากการเคลื่อนที่ของยานพาหนะที่กระทำต่อป้ายบอกทางจราจร และโครงสร้างเสาบอกทางแบบคร่อมผิวจราจรโดยใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
Analysis of the affects of wind from vehicle movement on road signs and the guidepost structure straddling the road surface using the finite element methodology

keyword: ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
ThaSH: ยานยนต์
Classification :.DDC: 629.2
; โครงสร้างเสาบอกทางจราจร
ThaSH: ไฟไนต์เอลิเมนต์
; ลมจากยานพาหนะ
ThaSH: ยานพาหนะ
ThaSH: อากาศพลศาสตร์
Abstract: งานวิจัยนี้นำเสนอการวิเคราะห์ผลกระทบของลมที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของยานพาหนะและกระทำต่อป้ายบอกทางจราจร และโครงสร้างเสาบอกทางแบบคร่อมผิวจราจร ด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ เพื่อวิเคราะห์หาการกระจายตัวของความเค้นและความเครียดที่เกิดขึ้นและศึกษารูปแบบการเสียรูปของโครงสร้างเสาบอกทางจราจรอันเนื่องมาจากแรงลมจากการเคลื่อนที่ของยานพาหนะบนถนน โดยใช้มาตรฐานโครงสร้างเสาจราจรตามหลักโครงสร้างของกรมทางหลวงที่ได้กำหนดมาตรฐานแบบแปลนไว้ โดยเสามีขนาดสูง 8 เมตร ความยาวระหว่างเสาเท่ากับ 20 เมตร ป้ายจราจรขนาดใหญ่ที่มีความกว้าง ความสูง และความหนา เท่ากับ 6, 3 และ 0.003 เมตร ตามลำดับ ภาระที่กระทำกับโครงสร้างเสาบอกทางจราจร คือ แรงเนื่องจากน้ำหนักของโครงสร้าง และแรงจากลมที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ผ่านของรถ ซึ่งกำหนดเป็นรถบรรทุกเนื่องจากเป็นรถที่มีพื้นที่หน้าตัดสูงสุดและสามารถทำให้เกิดแรงลมสูงสุด บรรทุกที่วิ่งผ่านป้ายจราจร ความเร็วของรถยนต์ที่เคลื่อนที่บนท้องถนนตามมาตรฐานความเร็วที่กำหนดความเร็วไว้ที่ 90 และ 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และได้เพิ่มเติมการวิเคราะห์ในกรณีที่ความเร็วเกินมาตรฐานที่ 150 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยกำหนดเงื่อนไขของการจำลองคือ ขนาดหน้าตัดของรถบรรทุกที่ใช้งานจริงตามท้องถนน ความเร็วที่วิ่งผ่านทำให้เกิดลมปะทะกับแผ่นป้ายจราจรที่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างเสาบอกทางจราจร และขนาดแผ่นป้ายจราจรตามหลักมาตรฐานกรมทางหลวง แบบโครงสร้างเสาจราจรแบบคร่อมผิวจราจร ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการกระจายความเค้นและความเครียดเกิดขึ้นจากแรงเนื่องจากน้ำหนักของโครงสร้างมากกว่าแรงที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ผ่านของยานพาหนะแม้ว่าจะวิ่งด้วยความเร็วเกินมาตรฐาน โดยความเค้นจะเกิดขึ้นมากที่สุดด้วยแรงกระทำสูงสุดที่จุดต่อของคานขวางเหล็กถัก โดยมีค่าสูงสุดไม่เกิน 200 เมกะปาสคาล ค่าความปลอดภัยโดยประมาณเท่ากับ 1.2-1.4
Abstract: The research presents an analysis of the impact of wind generated by moving vehicles on traffic signs and the structure of guideposts straddling the road surface using a finite element methodology. The analysis was performed to determine the distribution of stress and strain and to study the deformation pattern of the traffic guidepost structure due to vehicle-induced gusts on the road. Standards for the traffic pole structure, which have been established as a standard plan by the Department of Highways were adopted. That is, the poles were 8 meters high; the length between the poles was 20 meters; and the width, height, and thickness of large traffic signs were 6, 3, and 0.003 meters, respectively. The load on the structure of the traffic guidepost poles was the force due to the weight of the structure and the force from the wind generated by the movement of the vehicle defined as a truck because of its highest cross-sectional area and ability to cause the highest wind force. Trucks passing through traffic signs had the speed of the vehicles moving on the road according to the standard speed limits of 90 and 120 km/h. An additional analysis was provided in case of speed exceeding the standard of 150 km/h. The conditions of the simulation were the cross-sectional size of the actual truck on the road, the passing speed of vehicles causing the wind to collide with the traffic signs affecting the structure of the traffic poles, and the size of the traffic signs. This was according to the standards of the Department of Highways regarding the structure of traffic guidepost poles straddling the traffic surface. The analysis results showed that the factors affecting the distribution of stress and strain arose from the force. This was because the weight of the structure was greater than the force arising from passing vehicles even when running at speeds exceeding the standard. The stress and strain would occur the most with the maximum force applied at the joint of the steel truss crossbeams with a maximum value of not more than 200 MPa, and a safety value was approximately 1.2-1.4.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: arit@rmutp.ac.th
Role: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Email : prasert.w@rmutp.ac.th
Role: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
Email : prakorb.c@rmutp.ac.th
Created: 2565
Modified: 2567-04-23
Issued: 2567-04-23
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: วพ 629.2 ก393ก
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 ENG_67_06.pdf 5.16 MB2 2025-02-22 21:20:11
ใช้เวลา
0.023788 วินาที

ประเสริฐ วิโรจน์ชีวัน
Title Creator Type and Date Create
การศึกษาประสิทธิภาพทางแม่เหล็กจากวัสดุคอมโพสิต ที่ใช้ในอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประเสริฐ วิโรจน์ชีวัน
วนัสนันท์ อิษฎ์วิริยะพรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ความเข้มของความเค้นและการเสียรูปของล้อยางรันแฟลทสําหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลโดยใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประเสริฐ วิโรจน์ชีวัน
ภูมินทร์ มินาบูรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาพารามิเตอร์ในการขึ้นรูปแผ่นเกราะเซรามิกส์รูปร่างหกเหลี่ยมกันกระสุน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประเสริฐ วิโรจน์ชีวัน;ประกอบ ชาติภุกต์
ณัฐพงศ์ มีสานุ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ผลกระทบของลมจากการเคลื่อนที่ของยานพาหนะที่กระทำต่อป้ายบอกทางจราจร และโครงสร้างเสาบอกทางแบบคร่อมผิวจราจรโดยใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประเสริฐ วิโรจน์ชีวัน;ประกอบ ชาติภุกต์
กัมปนาท เกิดแก่น
วิทยานิพนธ์/Thesis
ประกอบ ชาติภุกต์
Title Creator Type and Date Create
แผ่นเกราะเซรามิกส์กันกระสุนด้วยวัสดุเชิงประกอบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
ชัยวัฒน์ ไชยมหาพฤกษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ออกแบบและสร้างหุ่นทดสอบการชนของรถจักรยานยนต์ภายใต้สัดส่วนโครงสร้างของคนไทย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
มานัส แดงชาติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์พารามิเตอร์ที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการต้านทานของการเจาะทะลุของกระสุนบนผิวเกราะอะลูมิเนียมด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์ ;ปฎิภาณ ถิ่นพระบาท
อนุชา สายเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบล้อ Run-flat ที่เหมาะสมสำหรับรถยนต์บรรทุกปกติขนาดเล็กติดเกราะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
นุชนาถ ทองใหญ่
วิทยานิพนธ์/Thesis
การออกแบบล้อรันแฟลทสำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ปฎิภาณ ถิ่นพระบาท;ประกอบ ชาติภุกต์
อลงกต ทะจักร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์มุมเอียงและความหนาของแผ่นเกราะที่มีผลกระทบต่อการต้านทานการเจาะทะลุของกระสุนบนแผ่นเกราะอลูมิเนียมและสแตนเลส ด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ทรงวุฒิ มงคลเลิศมณี;ประกอบ ชาติภุกต์
ไมตรี ถาวรสิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมบัติทางกลของโพลิเอทิลีนน้ำหนักโมเลกุลสูงยิ่งยวดเชิงประกอบสำหรับล้อ Run-flat
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
งามพรรณ ชะโล
วิทยานิพนธ์/Thesis
แผ่นเกราะโลหะกันกระสุน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
วิสา คร้ามอ่ำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาพารามิเตอร์ในการขึ้นรูปแผ่นเกราะเซรามิกส์รูปร่างหกเหลี่ยมกันกระสุน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประเสริฐ วิโรจน์ชีวัน;ประกอบ ชาติภุกต์
ณัฐพงศ์ มีสานุ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์พารามิเตอร์ที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการต้านทานของการเจาะทะลุของกระสุนบนแผ่นเกราะเซรามิกส์ร่วมกับแผ่นเกราะโลหะด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
ธนากร บุญหรั่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ความเค้นและการเสียรูปของแผ่นเกราะโลหะแบบเรียงซ้อนกันโดยใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
มัลลิกา เดชสุภา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจสอบพฤติกรรมของแผ่นเกราะพรุนแบบเรียงซ้อนที่มีความแข็งแรงสูงต่อกระสุนเจาะเกราะ 7.62 โดยใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์ ;ภูภูมิ พ่วงเจริญชัย
กฤษฎา แสงพรายพรรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ผลกระทบของลมจากการเคลื่อนที่ของยานพาหนะที่กระทำต่อป้ายบอกทางจราจร และโครงสร้างเสาบอกทางแบบคร่อมผิวจราจรโดยใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประเสริฐ วิโรจน์ชีวัน;ประกอบ ชาติภุกต์
กัมปนาท เกิดแก่น
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเพิ่มประสิทธิภาพทางไตรโบโลยีของพอลิเอทิลีนน้ำหนักโมเลกุลสูงยิ่งยวดด้วยการผสมโลหะเสริมแรงน้ำหนักเบา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
วิชาญชัย ปลีนารัมย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของอลูมิเนียมออกไซด์ที่ส่งผลต่อสมบัติทางความร้อน ทางกลและไตรโบโลยีของโพลิเอทิลีนน้ำหนักโมเลกุลสูงยิ่งยวด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
พีรศิษฐ์ จุลละโพธิ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ความแข็งแรงและความเสียหายของกันชนรถยนต์ด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
พีรัชชัย กระจ่างสด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการนำกลับมาใช้ใหม่ของพอลิเอทิลีนน้ำหนักโมเลกุลสูงยิ่งยวดที่ส่งผลต่อสมบัติทางกลและไตรโบโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์;ทรงวุฒิ มงคลเลิศมณี
รัชพงศ์ กาบจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 161
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,290
รวม 3,451 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 118,079 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 2,041 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 404 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 47 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 19 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 16 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 15 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 4 ครั้ง
รวม 120,625 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.198