แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Thai basic color categories and monolexemic color terms

Address: Pathum Thani
Organization : Rajamangala university of technology thanyaburi. Faculty of mass communication of technology. Program in color technology and design
keyword: กลุ่มสีพื้นฐานของไทย
ThaSH: Color
Classification :.LCCS: ND 1486
; สี
ThaSH: Color -- Terminology
ThaSH: Color -- Study and teaching
Abstract: The objectives of this study were to: 1) find the number of basic color categories used in Thailand and 2) investigate the derivation of Thai color names. There were 161 Thai native speakers participated, called subjects. The subjects were asked to provide color name for each of 330 Munsell color chips similar as used in the World Color Survey by using monolexemic color terms. All subjects were tested for their normal color vision by using the Farnsworth Munsell D-15 Color Vision Test, only subjects who pass the test could participate in the experiment. The study results showed that the mean number of color terms used per subject was 19.15 ± 5.21. There were 12 color names used by 80% consensus of subjects, consisting of 11 colors which were corresponded to the basic color term (BCTs) as found by Berlin and Kay in 1969 plus fa ‘sky/light blue’. Notice that the result was changed from B&K studied for Thai BCTs. In this study, it was found that Thai subjects provided two categories for blues: fa and nam-ngoen. In addintion, som seems to be added to replace saet, and thao was added for achromatic. It was also found that three non-BCTs were used with ≥50% of the subjects; khi-ma ‘horse feces’ (75%), lueatmu ‘pig blood’ (68%), and ban-yen ‘four o'clock flower/magenta’ (50%). Regarding the derivation of color names, most color names used by Thai subjects were referred to objects in flora class (31.72%), followed by inanimate nature (17.54%). Which the flowers category and (semi-) precious stones category had the highest number of relevant color names in the flora and the inanimate nature classes, respectively.
Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจำนวนของกลุ่มสีพื้นฐานของไทยและที่มาของการใช้คำเรียกสีในภาษาไทย โดยทำการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างชาวไทยจำนวน 161 คน โดยใช้แผ่นสีมันเซลล์ จำนวน 330 แผ่น ซึ่งเป็นชุดสีทดสอบดังกล่าวคล้ายกับชุดสีทดสอบที่ใช้ในโครงการสำรวจสีโลก (Word Color Survey) ผู้วิจัยขอให้กลุ่มตัวอย่างบอกชื่อสีสำหรับแต่ละแผ่นสี โดยกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมการศึกษานี้ทุกคนมีการมองเห็นสีปกติ ซึ่งทดสอบโดยใช้ the Farnsworth Munsell D-15 Color Vision Test ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยของจำนวนการใช้คำเรียกของกลุ่มตัวอย่างแต่ละคนอยู่ที่ 19.15 ± 5.21 โดยในจำนวนนี้พบว่ามีคำเรียกสี 12 คำ ที่ถูกใช้มากถึงร้อยละ 80 ของกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย คำเรียกสีที่มีความสอดคล้องกับ 11 สีพื้นฐานที่พบในการศึกษาของเบอร์ลินและเคย์ในปี 1969 และ สีฟ้า ซึ่งในการศึกษาของเบอร์ลินและเคย์นั้นได้จัดกลุ่มสีฟ้าและสีน้ำเงินให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน และผู้วิจัยยังพบว่ากลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้มักใช้คำเรียกสีส้มแทนสีแสด ต่างจากที่พบในการศึกษาของเบอร์ลินและเคย์และพบว่าสีเทาถูกใช้เรียกแผ่นสีทดสอบที่ไม่มีสี (achromatic) ที่มีความสว่างอยู่ระหว่างขาวและดำนอกจากนี้ยังพบว่า มีคำเรียกสีไม่พื้นฐานที่ถูกใช้โดยกลุ่มตัวอย่างมากกว่าร้อยละ 50 เช่น สีขี้ม้า ที่มีการใช้ถึงร้อยละ 75 สีเลือดหมู ที่มีการใช้ถึงร้อยละ 68 และ สีบานเย็น ที่มีการใช้ถึงร้อยละ 50 จากการศึกษาที่มาของการใช้คำเรียกสีในภาษาไทย พบว่า คำเรียกสีส่วนใหญ่ที่ถูกใช้โดยกลุ่มตัวอย่างในการศึกษานี้มีแหล่งที่มาจากสีของพฤกษาถึงร้อยละ 31.72 โดยส่วนใหญ่เป็นชื่อของดอกไม้รองลงมาคือวัตถุที่ไม่มีชีวิตตามธรรมชาติ โดยมีสัดส่วนที่ร้อยละ 17.54 ส่วนใหญ่เป็นชื่อของหินอัญมณี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: ปทุมธานี
Email: elibrary@mail.rmutt.ac.th
Role: Faculty advisor
Role: Faculty advisor
Created: 2566
Modified: 2566-08-31
Issued: 2566-08-31
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: THE ND 1486 .N57
tha
DegreeName: Master of Science
©copyrights มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 RMUTT-170441.pdf 3.97 MB
ใช้เวลา
0.022058 วินาที

Nischanade Chitapanya
Title Contributor Type
Thai basic color categories and monolexemic color terms
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Nischanade Chitapanya
Chanprapha Phuangsuwan
Mitsuo Ikeda
วิทยานิพนธ์/Thesis
Chanprapha Phuangsuwan
Title Creator Type and Date Create
Thai basic color categories and monolexemic color terms
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Chanprapha Phuangsuwan;Mitsuo Ikeda
Nischanade Chitapanya
วิทยานิพนธ์/Thesis
Color appearance of color chips in the environment lit with LED lamps
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Chanprapha Phuangsuwan
Phubet Chitapanya
วิทยานิพนธ์/Thesis
Mitsuo Ikeda
Title Creator Type and Date Create
Determination of equivalent lightness of small stimulus in the elderly using cataract experiencing goggles
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Pichayada Katemake;Mitsuo Ikeda
Patarin Wongsompipatana
วิทยานิพนธ์/Thesis
Thai basic color categories and monolexemic color terms
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Chanprapha Phuangsuwan;Mitsuo Ikeda
Nischanade Chitapanya
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 23
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,193
รวม 3,216 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 70,292 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 86 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 39 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 11 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 6 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 70,437 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48