แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

วิธีการสกัดที่เหมาะสมในการสกัดเส้นใยอาหารละลายน้ำจากหน่อไม้เศษเหลือ
Optimization of Soluble Dietary Fiber Extraction from The Residual Bamboo Shoots

Address: อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย
keyword: เส้นใยอาหารละลายน้ำ
; หน่อไม้
; พรีไบโอติก
; Lactobacillus plantarum
; Bifidobacterium longum subsp
; Longum
; Soluble dietary fiber
; Bamboo shoot
; Prebiotic
Abstract: หน่อไม้เศษเหลือจากอุตสาหกรรมแปรรูปมีมากกว่าร้อยละ 50 ที่ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้ แต่ยังมีเส้นใยอาหารเป็นองค์ประกอบที่มีคุณประโยชน์ต่อร่างกาย จึงเป็นที่น่าสนใจในการเพิ่มมูลค่าผลพลอยได้จากกระบวนการแปรรูปนี้ได้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการที่เหมาะสมในการสกัดเส้นใยอาหารละลายน้ำจากหน่อไม้เศษเหลือ ผลผลิตของเส้นใยอาหารละลายน้ำสูงสุดเท่ากับ 6.67 กรัมต่อ 100 กรัมน้ำหนักสดคุณสมบัติเชิงหน้าที่ของเส้นใยอาหารละลายน้ำ ได้แก่ การละลายน้ำ (WS) การอุ้มน้ำ (WHC) และการอุ้มน้ำมัน (OBC) ค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 0.82, 22.45 และ 12.80 กรัมต่อกรัม ตามลำดับ โดยสกัดเส้นใยอาหารละลายน้ำด้วยเอนไซม์จากหน่อไม้เศษเหลือ 2 ลักษณะ คือ แบบชิ้น (ส่วนฐานของหน่อไม้) และแบบฝอย (ส่วนเนื้ออ่อนของหน่อไม้) ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเส้นใยอาหารละลายน้ำทั้งสองแบบที่สกัดด้วยเอนไซม์ที่ระยะเวลา 1 ชั่วโมง มีลักษณะเป็นรูพรุนขนาดเล็ก ในขณะที่เมื่อเพิ่มระยะเวลาการสกัดเป็น 2 และ 3 ชั่วโมง ลักษณะของเส้นใยอาหารเกาะกันเป็นกลุ่มก้อน มีลักษณะเป็นแท่งคล้ายคริสตัล ตามลำดับ ผลศึกษาคุณสมบัติการเป็นพรีไบโอติกของเส้นใยอาหารละลายน้ำจากหน่อไม้เศษเหลือแบบชิ้นและแบบฝอย พบว่า จุลินทรีย์ L. plantarum กลุ่มควบคุม (24 ชั่วโมง) มีปริมาณค่าเฉลี่ยเชื้อ 2.83x109 CFU/mL เทียบกับ L. plantarum เลี้ยงร่วมกับเส้นใยอาหารละลายน้ำแบบชิ้นหรือแบบฝอย พบว่า มีจำนวนโคโลนีของเชื้อจุลินทรีย์มากจนไม่สามารถนับได้ และจุลินทรีย์ B. longum กลุ่มควบคุม (48 ชั่วโมง) มีปริมาณค่าเฉลี่ยเชื้อ 4.40x108 CFU/mL เทียบกับ B. longum ที่เลี้ยงร่วมกับเส้นใยอาหารละลายน้ำแบบชิ้นที่ได้จาก Treatment 1512, Treatment 2411 และ Treatment 3411 มีปริมาณค่าเฉลี่ยเชื้อ 7.65x107 CFU/mL, 2.07x109 CFU/mL และ 2.48x108 CFU/mL ตามลำดับ ในขณะที่เมื่อเลี้ยงร่วมกับเส้นใยอาหารละลายน้ำแบบฝอย พบว่า มีจำนวนโคโลนีของเชื้อจุลินทรีย์มากจนไม่สามารถนับได้ แสดงให้เห็นว่า เส้นใยอาหารละลายน้ำที่ผลิตจากหน่อไม้เศษเหลือสามารถส่งเสริมการเจริญของเชื้อโพรไบโอติกได้ และมีศักยภาพในการนำไปใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพได้
Abstract: More than 50% of Bamboo shoot residues leftover from the processing industries cannot be used for other benefits. The presence of dietary fiber in bamboo shoot waste is beneficial to the body. Therefore, it is interesting to increase the value of these by-products of the canning process. The aim of this research was to optimize the extraction method of soluble dietary fiber from the residual bamboo shoots. The maximum yield of soluble dietary fiber was 6.67 g of 100 g fresh weight. The highest values of the functional properties of soluble fiber including water solubility (WS), water holding capacity (WHC) and oil holding capacity (OBC) were 0.82, 22.45 and 12.80 g/g, respectively. Using enzyme-assisted extraction, soluble dietary fiber of two types of residual bamboo shoots including chunk bamboo shoots (bamboo shoot bases) and shredded bamboo shoots (bamboo shoot strips) were performed. The results showed that the morphology of soluble dietary fiber extracted from two types of residual bamboo shoots for 1 hour showed small pores while the appearance of fiber clumps like a crystal stick was detected when increase the extraction time for 2 and 3 hours, respectively. The prebiotic properties of soluble dietary fiber from chunk and shredded residual bamboo shoots were evaluated. It was found that the Lactobacillus plantarum TISTR 2075 in the control group (24 h) had a mean amount of 2.83x109 CFU/mL compared with L. plantarum mixed with chunk or shredded soluble fiber which found a higher extent of bacterial quantities. In the control (48 h), a mean amount of 4.40x108 CFU/mL of Bifidobacterium longum subsp. Longum TISTR 2195 was detected when compared to the conditions mixed with soluble dietary fiber from chunk bamboo shoot including Treatment 1512, Treatment 2411 and Treatment 3411 which had a mean amount of 7.65x107 CFU/mL, 2.07x109 CFU/mL, and 2.48x108 CFU/mL respectively, whereas which were fed with shredded soluble fiber were found too numerous to count. The results show that soluble dietary fiber obtained from residual bamboo shoots could promote the growth of probiotic strains and has the potential to be applied in healthy food products.
มหาวิทยาลัยพะเยา.ศูนย์บรรณสารและการเรียนรู้
Address: พะเยา
Email: clm@up.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
Created: 2565
Modified: 2566-07-20
Issued: 2566-07-20
tha
DegreeName: Master of Science
Descipline: Biotechnology
©copyrights
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Lalita Lamaphrom.pdf 3.6 MB3 2025-07-15 20:02:41
ใช้เวลา
0.077372 วินาที

ลลิตา ลามะพรม
Title Contributor Type
รวิสรา รื่นไวย์
Title Creator Type and Date Create
สุภาพร ภัสสร
Title Creator Type and Date Create
การศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อสำนักงานที่ดินจังหวัดพะเยา สาขาดอกคำใต้
มหาวิทยาลัยนเรศวร
สุภาพร ภัสสร
ถาวร เต่าพาลี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสำนักงานที่ดินจังหวัดพะเยา
มหาวิทยาลัยนเรศวร
สุภาพร ภัสสร
สาธิต เจียมพานทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคัดแยกเชื้อราที่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสและอะไมเลสเพื่อประยุกต์ใช้ในการหมักพืชอาหารสัตว์
มหาวิทยาลัยพะเยา
ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ;โชค โสรัจกุล;สุภาพร ภัสสร
ไอยวริญ ใจคำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้น้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมผลิตปลาส้มในการผลิตแคโรทีนอยด์โดยยีสต์ Rhodotorula mucilaginosa UP12
มหาวิทยาลัยพะเยา
สุภาพร ภัสสร
อรวรรณ ยะมนต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์ใช้แบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคผลเน่าจากเชื้อ Pestalotiopsis sp. และเชื้อ Lasiodiplodia sp. ของการผลิตลำไยพันธุ์อีดอ (Dimocarpus longan Lour.)
มหาวิทยาลัยพะเยา
สุภัค มหัทธนพรรค;สุภาพร ภัสสร
จิรภิญญา เลี่ยมไครต่วน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ฤทธิ์ของสารสกัดจากหญ้าแฝกที่มีต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในช่องปาก และการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบน้ำยาบ้วนปาก
มหาวิทยาลัยพะเยา
พนิตนาฎ อู่พุฒินันท์;ลภัสรดา มุ่งหมาย;สุภาพร ภัสสร
กมลนิชา เณรบำรุง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคัดเลือกแบคทีเรียในการปรับปรุงคุณภาพดินในการผลิตลำไย
มหาวิทยาลัยพะเยา
สุภัค มหัทธนพรรค;สุภาพร ภัสสร
กัลยวรรธน์ อินถา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบ่งบอกเชื้อสาเหตุโรคผลลายในลำไยโดยการประยุกต์ใช้เทคนิค Loop mediated isothermal amplification (LAMP)
มหาวิทยาลัยพะเยา
สุภัค มหัทธนพรรค;สุภาพร ภัสสร
กนกวรรณ เหรา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาวิธีการสกัดและผลของอายุการเก็บรักษาหลังการเก็บเกี่ยวต่อปริมาณอินนูลินในกระเทียม
มหาวิทยาลัยพะเยา
สุภาพร ภัสสร;คุณากร ขัติศรี;รวิสรา รื่นไวย์;พนิตนาฎ อู่พุฒินันท์
จารุพิชญา โฮมลคร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของสารสกัดหยาบจากหญ้าแฝกต่อการเจริญของแบคทีเรียก่อโรคในมนุษย์
มหาวิทยาลัยพะเยา
พนิตนาฎ อู่พุฒินันท์;สุภาพร ภัสสร;รวิสรา รื่นไวย์
ธารินทร์ ศรีวิโรจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้อนุกรมวิธานเชิงบูรณาการในการประเมินความหลากหลายของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในอุทยานแห่งชาติ ดอยภูคา จังหวัดน่าน
มหาวิทยาลัยพะเยา
ฉัตรมงคล สุวรรณภูมิ;สุภาพร ภัสสร
แสงวิไล ลอแพงสี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอนไซม์อินนูลินเนสจากราที่แยกได้จากกระเทียม
มหาวิทยาลัยพะเยา
สุภาพร ภัสสร;ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ
ประกายพลอย สร้อยเบี้ย
วิทยานิพนธ์/Thesis
วิธีการสกัดที่เหมาะสมในการสกัดเส้นใยอาหารละลายน้ำจากหน่อไม้เศษเหลือ
มหาวิทยาลัยพะเยา
รวิสรา รื่นไวย์;สุภาพร ภัสสร
ลลิตา ลามะพรม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจหาเชื้อไวรัส HPV และ EBV จากแหล่งน้ำธรรมชาติและน้ำประปาจังหวัดพะเยา เพื่อศึกษาความชุกของการติดเชื้อ HPV และ EBV ในเลือด
มหาวิทยาลัยพะเยา
สุภาพร ภัสสร;รวิสรา รื่นไวย์
สุธิดา พงษ์ภักดีสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตรวจสอบลักษณะของเชื้ออีโคไลสำหรับการตรวจสอบการแพร่กระจายของเชื้อจากโรงพยาบาลพะเยาราม จังหวัดพะเยา ประเทศไทย
มหาวิทยาลัยพะเยา
กฤษชัย พูนเจริญ;สุภาพร ภัสสร
รุ่งทิวา ศรีโมรา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจสอบซีไรไทป์ของเชื้อซาลโมเนลล่าโดยใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาสำหรับเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาในภาคเหนือตอนบนของประเทศ
มหาวิทยาลัยพะเยา
กฤษชัย พูนเจริญ;สุภาพร ภัสสร
สุดารัตน์ ศรีส่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,145
รวม 2,145 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.149