แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การจัดการปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับการผลิตสตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 80 บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่
Appropriate fertilizer management for strawberry cv. Pharachatan 80 production in highland, Chiang Mai Province

ThaSH: สตรอว์เบอร์รี -- การปลูก
ThaSH: สตรอว์เบอร์รี -- พันธุ์พระราชทาน 80
ThaSH: สตรอว์เบอร์รี -- ฝาง (เชียงใหม่)
ThaSH: ฝาง (เชียงใหม่)
Abstract: การศึกษาการจัดการปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับการผลิตสตรอว์เบอร์รี พันธุ์พระราชทาน 80 บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความต้องการธาตุอาหารหลัก (ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม) ในระบบอินทรีย์และระบบปกติ และ 2) อัตราการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับการผลิตสตรอว์เบอร์รี ซึ่งได้ดำเนินการในแปลงของเกษตรกร บ้านขอบด้ง ตำบลแม่งอน อำเภอฝาง และบ้านหาดส้มป่อย ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ในระหว่างเดือนกันยายน 2561 ถึง เดือนเมษายน 2562 การศึกษาความต้องการธาตุอาหารหลักของสตรอว์เบอร์รี โดยการสุ่มตัวอย่างสตรอว์เบอร์รี บันทึกน้ำหนักสด น้ำหนักแห้ง และวิเคราะห์หาความเข้มข้นของไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม ในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เพื่อนำมาประเมินการดูดใช้ธาตุอาหารของสตรอว์เบอร์รี ผลการศึกษาพบว่า สตรอว์เบอร์รีระบบอินทรีย์ต้องการธาตุอาหารไนโตรเจน 5.80 กก./ไร่ ฟอสฟอรัส 1.49 กก./ไร่ และโพแทสเซียม 10.51 กก./ไร่ โดยที่ระยะการเจริญเติบโตทางลำต้นถึงระยะออกดอก สตรอว์เบอร์รีดูดใช้ธาตุอาหารไนโตรเจน 3.65 กก./ไร่, ฟอสฟอรัส 0.56 กก./ไร่ และโพแทสเซียม 4.92 กก./ไร่ และหลังออกดอกถึงระยะเก็บเกี่ยวผลผลิต สตรอว์เบอร์รีดูดใช้ธาตุอาหารไนโตรเจน 2.14 กก./ไร่, ฟอสฟอรัส 0.93 กก./ไร่ และโพแทสเซียม 5.59 กก./ไร่ และสตรอว์เบอร์รีระบบปกติ ต้องการธาตุอาหารไนโตรเจน 10.14 กก./ไร่ ฟอสฟอรัส 1.33 กก./ไร่ และโพแทสเซียม 10.83 กก./ไร่ โดยที่ระยะการเจริญเติบโตทางลำต้นถึงระยะออกดอก สตรอว์เบอร์รีดูดใช้ธาตุอาหารไนโตรเจน 1.68 กก./ไร่,ฟอสฟอรัส 0.24 กก./ไร่ และโพแทสเซียม 1.90 กก./ไร่ และที่หลังออกดอกจนถึงระยะ เก็บเกี่ยวผลผลิต สตรอว์เบอร์รีดูดใช้ธาตุอาหารไนโตรเจน 8.47 กก./ไร่, ฟอสฟอรัส 1.09 กก./ไร่ และโพแทสเซียม 8.93 กก./ไร่ การศึกษาการจัดการปุ๋ยเหมาะสมสำหรับการผลิตสตรอว์เบอร์รี มีการวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบล็อก (RCBD) จำนวน 4 ซ้ำ ประกอบด้วยการจัดการปุ๋ยที่แตกต่างกัน 4 กรรมวิธี คือ กรรมวิธีที่ 1 ใส่ปุ๋ยในอัตราที่เกษตรกรนิยมปฏิบัติในพื้นที่ (CFRS) (ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 68.48 กก./ไร่, ปุ๋ยฟอสฟอรัส (P2O5) 185.09 กก./ไร่ และปุ๋ยโพแทสเซียม (K2O) 120.57 กก./ไร่), กรรมวิธีที่ 2 ใส่ปุ๋ยในอัตราที่ประเมินจากความต้องการธาตุอาหารหลักของสตรอว์เบอร์รี (F-NR) (ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 25.02 กก./ไร่,ปุ๋ยฟอสฟอรัส (P2O5) 8.25 กก./ไร่ และปุ๋ยโพแทสเซียม (K2O) 41.89 กก./ไร่), กรรมวิธีที่ 3 ใส่ปุ๋ยแบบเจาะจงเฉพาะพื้นที่ (SSFM) (ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 25.02 กก./ไร่) และกรรมวิธีที่ 4 ไม่ใส่ปุ๋ยเป็นกรรมวิธีควบคุม (control) ผลการศึกษาพบว่ากรรมวิธี 1, 2 และ 3 ไม่ทำให้ความสูง ความกว้างทรงพุ่ม น้ำหนักแห้งส่วนเหนือดินของสตรอว์เบอร์รี ความเข้มข้นไนโตรเจนในส่วนเหนือดินที่ระยะ 60 วัน ปริมาณผลผลิต แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกรรมวิธีควบคุม และทุกกรรมวิธีไม่ส่งผลให้คุณภาพผลผลิต ได้แก่ ปริมาณกรดทั้งหมดที่ไทเทรตได้ (TTA), ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ (TSS) และปริมาณวิตามินซี (ascorbic acid) แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีค่าอยู่ในช่วง 1.13-1.14%, 11.47-11.67 ᵒBrix และ 58.65-64.16 มก./100 กรัมน้ำหนักสด ตามลำดับ แต่การใส่ปุ๋ยตามกรรมวิธีที่ 3 ให้ผลผลิตสูงสุด 3015.90 กก./ไร่ และมีประสิทธิภาพการใส่ปุ๋ย 14.22% การศึกษาชี้ให้เห็นว่า การผลิตสตรอว์เบอร์รีในดินที่มีปริมาณฟอสฟอรัสในระดับที่สูง และโพแทสเซียมในระดับสูง การใส่ปุ๋ยให้กับสตรอว์เบอร์รี ตามกรรมวิธีที่ 3 (ใส่ปุ๋ยแบบเจาะจงเฉพาะพื้นที่) ซึ่งใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 25.02 กก./ไร่ เพียงอย่างเดียว เพียงพอสำหรับการผลิตสตรอว์เบอร์รีให้ได้ปริมาณผลผลิตและคุณภาพดี ซึ่งเป็นการใช้ปุ๋ยในอัตราต่ำ ส่งผลต่อการลดต้นทุนการผลิต และลดการปนเปื้อนปุ๋ยสู่สิ่งแวดล้อม
Abstract: The study on the appropriate fertilizer management for strawberry cv Pharachatan 80 production in highland, Chiang Mai province was conducted with the following objectives: 1) to determine nutrient requirements (nitrogen, phosphorus, and potassium) and 2) to evaluate the appropriate fertilizer for strawberry. The trials were conducted in the farmer’s field at Khob Dong village, Mae Ngon subdistrict, and Had Sompoi village, Mae Sap sub-district, Samoeng district, Chiang Mai province, from September 2018 to April 2019. The study on strawberry nutrient requirements was performed by randomly collecting the strawberry samples. The fresh and dry weights of strawberry in each growth stage were recorded, and then the concentrations of N, P, and K in plant tissue were analyzed to determine the strawberry nutrient requirements. The result found that the organic strawberry nutrient requirements were 5.80 kg N/rai, 1.49 kg P/rai, and 10.51 kg K/rai. At the vegetative growth stage, organic strawberry need 3.65 kg N/rai, 0.56 kg P/rai, and 4.92 kg K/rai, and in the reproductive growth stage, organic strawberry need 2.14 N kg/rai, 2.15 P kg/rai and 6.27 kg K/rai, respectively. The typical strawberry nutrient requirements were 10.14 kg N/rai, 1.33 kg P/rai, and 10.83 kg K/rai. At the vegetative growth stage, the nutrient requirements of strawberry were 1.68 kg N/rai, 0.24 kg P/rai, and 1.90 kg K/rai. While the reproductive growth stage, the nutrient requirements of strawberry were 8.47 kg N/rai, 1.09 kg P/rai, and 8.93 kg K/rai. The study on appropriate fertilizer management for strawberry production was designed by randomized complete block design with four replications and four fertilizer treatments consisting of 1) fertilization based on common fertilizer rate for strawberry production (CFRS) (68.48 kg N/rai, 185.09 kg P2O5/rai and 120.57 kg K2O/rai), 2) fertilization rate based on nutrient requirements of strawberry (F-NR) (25.02 kg N/rai, 8.25 kg P2O5/rai and 41.89 kg K2O/rai), 3) fertilization rate based on site-specific fertilizer management (SSFM) 25.02 kg N/rai), and 4) control treatment (without fertilizer). The results showed that treatments 1, 2, and 3 had no significant effect on plant height, canopy width, above-ground plant dry weight, the nitrogen concentration in the above-ground plant at 60 days, and yield compared to the control treatment. All treatments did not affect yield quality (titrated total acid (TTA), total soluble solids (TSS), and vitamin C contents (ascorbic acid)) were significant with values in the range of 1.13-1.14%, 11.47-11.67 ᵒBrix and 58.65-64.16 mg/100 g fresh weight. However, treatment 3 gave the highest yield at 3015.90 kg/rai, and fertilizer use efficiency was 14.22%. This study suggests that when strawberry was cultivated in soil that contained a very high available phosphorus and exchangeable potassium level. The fertilizer rate based on SSFM treatment by applying only nitrogen fertilizer at 25.02 kg/rai should be the optimal rate for strawberry production's high yield and quality. A low rate of fertilizer use resulted in reduced production costs and fertilizer contamination to the environment.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สำนักหอสมุด
Address: เชียงใหม่
Email: cmulibref@cmu.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Created: 2566
Modified: 2025-02-19
Issued: 2566-07-15
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 610831052.pdf 3.4 MB1 2024-01-14 10:22:18
ใช้เวลา
0.057304 วินาที

ชูชาติ สันธทรัพย์
Title Creator Type and Date Create
ประสิทธิภาพของเชื้อจุลินทรีย์ดินต่อการย่อยสลายฟอสเฟตและการตรึงไนโตรเจนในปุ๋ยหมัก
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สมพร ชุนห์ลือชานนท์;อำพรรณ พรมศิริ;ชูชาติ สันธทรัพย์
นิศารัตน์ ทวีนุต
วิทยานิพนธ์/Thesis
พลวัตรประชากรและประสิทธิภาพการตรึงไนโตรเจนของแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนในปุ๋ยหมัก
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สมพร ชุนห์ลือชานนท์;ชูชาติ สันธทรัพย์;สุดชล วุ้นประเสริฐ
ดลนภา ศิริต๊ะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารหลักของพืชในดินและการดูดใช้ธาตุอาหารพืชของข้าวบางพันธุ์ ภายใต้ระบบการปลูกข้าวแบบประณีตและการจัดการปุ๋ยที่ต่างกัน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อำพรรณ พรมศิริ;ชูชาติ สันธทรัพย์;อัจฉรา เพ็งหนู
เพ็ญนภา นาวีรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ลักษณะเฉพาะของเชื้อแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนในเนื้อเยื่อกล้วยไม้สกุลหวายที่ปลูกโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สมพร ชุนห์ลือชานนท์;ชูชาติ สันธทรัพย์;สุดชล วุ้นประเสริฐ
วรยุวัน ชวนไชยสิทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของความเป็นกรด-ด่าง และอินทรีย์วัตถุต่อการสลายตัวของสารกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตในดินชุดโคราช
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อำพรรณ พรมศิริ;ชูชาติ สันธทรัพย์;ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร
พรสุดา ชุนห์ลือชานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ประสิทธิภาพการตรึงไนโตรเจนของเชื้อแบคทีเรียปมรากถั่วพุ่มที่ปลูกบนที่สูง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศุภศักดิ์ ลิมปิติ;อำพรรณ พรมศิริ;ชูชาติ สันธทรัพย์;วิภา หอมหวล
จุฑามาศ ปูริยะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณคาเฟอีนในสารกาแฟพันธุ์อราบิก้าในจังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บัณฑูรย์ วาฤทธิ์;ชูชาติ สันธทรัพย์
อดิเรก ศรีมูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้วัสดุปรับปรุงดินร่วมกับการปลูกพืชต้านการชะกร่อนเพื่อเพิ่มผลิตภาพของพืชผสมในระบบเกษตรน้ำฝนบนที่สูง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มัตติกา พนมธรนิจกุล;ชูชาติ สันธทรัพย์
วรคุณ ศรีวิชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสูญเสียฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ภายใต้วิธีอนุรักษ์ดินและน้ำแบบต่างๆบนที่ลาดชัน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มัตติกา พนมธรนิจกุล;ชูชาติ สันธทรัพย์;จีราภรณ์ อินทสาร
ธัญยรัตน์ อุ่นคำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประเมินคุณภาพของน้ำผึ้งไทยและการพัฒนาเจลลิปสติกจากน้ำผึ้ง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เอกชัย ชูเกียรติโรจน์;ภาณุวรรณ จันทวรรณกูร;พาณี ศิริสะอาด;ชูชาติ สันธทรัพย์
ชลพิณทุ์ หวานใจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้บล็อกย่อยและเครื่องกลั่นไอน้ำในวิธีโมดิฟายด์ คอมพรีเฮนซีฟสำหรับการวิเคราะห์ไนโตรเจนในปุ๋ย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มะลิวัลย์ แซ่อุ้ย;กนกพันธ์ พันธุ์สมบัติ;ชูชาติ สันธทรัพย์
พงศ์พัฒน์ วัยวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประเมินการแข่งขันของเชื้อแบคทีเรียปมรากถั่วที่ใช้คลุกเมล็ดสำหรับการปลูกถั่วพุ่มเป็นปุ๋ยสดบนพื้นที่สูงโดยเทคนิคทางอณูชีววิทยา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิภา หอมหวล;ชูชาติ สันธทรัพย์;อำพรรณ พรมศิริ
สุปราณี จี้มูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสามารถของเชื้อแอกติโนไมซิสต์เอนโดไฟท์ในการละลายฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในแร่ธรรมชาติและส่งเสริมการเจริญเติบโตของส้มพันธุ์สายน้าผึ้ง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สมบัติ ศรีชูวงศ์;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง;ชูชาติ สันธทรัพย์
กวิพร จินะจันตา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้ลีโอนาร์ไดท์เพื่อปรับปรุงคุณภาพปุ๋ยหมักและผลผลิตคะน้า
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สุชาติ จิรพรเจริญ;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง;ชูชาติ สันธทรัพย์
จักรพันธ์ อินทจักร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การปรับปรุงคุณภาพลีโอนาร์ไดต์สำหรับการผลิตปุ๋ยหมัก
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อำพรรณ พรมศิริ;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง;ชูชาติ สันธทรัพย์
ณธรรศ สมจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของกรด 3,5,6-ไทร์คลอโร-2-ไพรีดิลออกซีอะซิติกและกลูโคสต่อการเติบโตและคุณภาพผลของส้มโอพันธุ์ทองดี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นพพร บุญปลอด;ดรุณี นาพรหม;ชูชาติ สันธทรัพย์
ณัฐวุฒิ เนตรประดิษฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลกระทบจากเกษตรกรรมต่อชุมชีพของแมลงน้ำและคุณภาพน้ำของลาน้ำที่ไหลผ่านพื้นที่นาข้าวแบบอินทรีย์และนาข้าวแบบทั่วไปในแอ่งเชียงใหม่-ลำพูน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทัตพร คุณประดิษฐ์;ชิตชล ผลารักษ์;ชูชาติ สันธทรัพย์
นัฎฐิณี นามวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการจัดการปุ๋ยต่อคุณภาพผลของส้มโอพันธุ์ทองดีในอำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นพพร บุญปลอด;ดรุณี นาพรหม;ชูชาติ สันธทรัพย์
สุพัตรา ใจจันทรา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการปุ๋ยที่เหมาะสมสาหรับการผลิตเมล็ดพันธ์ุ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในภาคเหนือของประเทศไทย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จีราภรณ์ อินทสาร;ชูชาติ สันธทรัพย์;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง
กนกวรรณ นพพันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
อัตราปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับการผลิตข้าวโพดหวาน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สาวิกา กอนแสง;ชูชาติ สันธทรัพย์;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง
วิริยา แสนจันทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของการจัดการปุ๋ยโพแทสเซียมต่อคุณภาพและผลผลิตข้าวโพดหวาน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร;ชูชาติ สันธทรัพย์;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง
ประภัสสร เจริญไทย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของยูเรียและแคลเซียมซัลเฟตต่อการเจริญเติบโตของเรพซีด (Brassica napus L.)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วินัย วิริยะอลงกรณ์;ดรุณี นาพรหม;ชูชาติ สันธทรัพย์
ภรณ์พรรณ วงค์สถาน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความอยู่รอดของไรโซเบียม และอะโซสไปริลลัมในวัสดุรองรับที่ต่างกันและผลของจุลินทรีย์ผสมในวัสดุรองรับคัดเลือกต่อการเติบโตของถั่วแดงหลวง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อำพรรณ พรมศิริ;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง;ชูชาติ สันธทรัพย์
กันต์กมล ยะกันโท
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาวัสดุเพาะกล้าที่ผสมจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ เพื่อการผลิตต้นกล้าข้าว
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สุรัตน์ นักหล่อ;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง;ชูชาติ สันธทรัพย์
พงษ์พัฒน์ ชุมภู
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการใช้ถ่านชีวภาพต่อความอุดมสมบูรณ์ของดินการกักเก็บน้าในดินและการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร;ชูชาติ สันธทรัพย์;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
ณิชาภัทร สิทธิวรนนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ประสิทธิภาพของแบคทีเรียและชีวภัณฑ์ในการลดความเป็นพิษของอาซินิคในดินและคะน้าฮ่องกง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จีราภรณ์ อินทสาร;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง;ชูชาติ สันธทรัพย์
กนกขวัญ ปัญญาสิทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสามารถในการตรึงไนโตรเจนของไรโซแบคทีเรียและผลต่อการส่งเสริมการเติบโตของกล้ากาแฟอะราบิกา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จีราภรณ์ อินทสาร;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง;ชูชาติ สันธทรัพย์
อนันญพร ทำของดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคัดกรองและการประเมินประสิทธิภาพของไรโซแบคทีเรียต่อการส่งเสริมการเติบโตของต้นกล้าข้าว
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อำพรรณ พรมศิริ;อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง;ชูชาติ สันธทรัพย์
อนุสรา พิศน้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินในการปรับปรุงดินของชาวปกาเกอะญอ อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปรารถนา ยศสุข;อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ;จุฑาทิพย์ เฉลิมผล;ชูชาติ สันธทรัพย์
รุ่งฤทธิ์ คำแสน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประมาณการผลผลิตข้าวด้วยค่าดัชนีพืชพรรณโดยภาพถ่ายรายละเอียดสูงหลายช่วงคลื่นจากอากาศยานไร้คนขับ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา ;ถาวร อ่อนประไพ ;ชูชาติ สันธทรัพย์
พงศ์ หลวงมูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มเกษตรกรใช้สารอินทรีย์ในการลดสารเคมีทางการเกษตรในตำบลไหล่น่าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สายสกุล ฟองมูล;จุฑาทิพย์ เฉลิมผล;อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ;ชูชาติ สันธทรัพย์
มนต์ชัย พรมลอองวัน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับการผลิตสตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 80 บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชูชาติ สันธทรัพย์;้ ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
สุรีย์พร วงษ์พูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการใช้ขุยมะพร้าวเป็นวัสดุปลูกรูปแบบต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสตรอว์เบอร์รีในโรงเรือน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ;ชูชาติ สันธทรัพย์
ณัฎฐณิชา พรมภักดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของฤดูปลูกและการให้น้ำต่อการเติบโตและผลผลิตของหญ้าหวาน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ;ชาญชัย แสงชโยสวัสด;ชูชาติ สันธทรัพย์
ทัศนีย์ ไพรพนากุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของการให้น้ำต่อการเติบโต คุณภาพ และผลผลิต ของเคพกูสเบอร์รี บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ;ชูชาติ สันธทรัพย์
ศิรินทร์รัตน์ ทองบพิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการจัดการปุ๋ยที่แตกต่างกันต่อผลผลิตและคุณภาพของกาแฟอะราบิกาบนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชูชาติ สันธทรัพย์;ยุพา จอมแก้ว
ลลิชา พานทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของการให้น้ำต่อการเติบโต คุณภาพ และผลผลิตของดาวเรือง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ;ชูชาติ สันธทรัพย์
รัชนีกร แก้วปา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
Title Creator Type and Date Create
ผลของการใช้ถ่านชีวภาพต่อความอุดมสมบูรณ์ของดินการกักเก็บน้าในดินและการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปฏิภาณ สุทธิกุลบุตร;ชูชาติ สันธทรัพย์;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
ณิชาภัทร สิทธิวรนนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศักยภาพการกักเก็บคาร์บอน ธาตุอาหารและน้ำในป่าปลูกไม้สักและสนสามใบผสมไผ่ บริเวณดอยตุง อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สุนทร คำยอง;นิวัติ อนงค์รักษ์;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
จตุรงค์ วุฒิ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประเมินศักยภาพของที่ดินในพื้นที่ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “หริภุญไชย” อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วาสนา วิรุญรัตน์;นิวัติ อนงค์รักษ์;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
ธวัชชัย ตาอินทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับการผลิตสตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 80 บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชูชาติ สันธทรัพย์;้ ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
สุรีย์พร วงษ์พูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
สัณฐานวิทยาและสมบัติของดินในระบบวนเกษตรที่มีกาแฟเป็นพืชหลักในจังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นิวัติ อนงค์รักษ์;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
ณัฐวุฒิ ลือศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความตระหนักของเกษตรกรต่อปัญหาการใช้ที่ดินเพื่อการเพาะปลูกบนพื้นที่สูงในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณฐิตากานต์ พยัคฆา;ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
เหมือนฝัน อุประ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ลักษณะดินและศักยภาพการกักเก็บคาร์บอนและน้ำในป่าชุมชนที่เป็นป่าเต็งรังของหมู่บ้านท่าสะแล อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นิวัติ อนงค์รักษ์;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
ณิชาภัทร์ ดวงทิพย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการใช้ขุยมะพร้าวเป็นวัสดุปลูกรูปแบบต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสตรอว์เบอร์รีในโรงเรือน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ;ชูชาติ สันธทรัพย์
ณัฎฐณิชา พรมภักดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของฤดูปลูกและการให้น้ำต่อการเติบโตและผลผลิตของหญ้าหวาน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ;ชาญชัย แสงชโยสวัสด;ชูชาติ สันธทรัพย์
ทัศนีย์ ไพรพนากุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของการให้น้ำต่อการเติบโต คุณภาพ และผลผลิต ของเคพกูสเบอร์รี บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ;ชูชาติ สันธทรัพย์
ศิรินทร์รัตน์ ทองบพิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทัศนคติของเกษตรกรในการปลูกกาแฟสายพันธุ์อะราบิกาในพื้นที่อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณฐิตากานต์ พยัคฆา;จุฑาทิพย์ เฉลิมผล;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
กวินภพ ประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการส่งเสริมการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทยของผู้ปลูกกาแฟ บ้านมณีพฤกษ์ ตำบลงอบ อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณฐิตากานต์ พยัคฆา;ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
ปรียาภรณ์ ขันทบัว
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการพัฒนาด้านการดำเนินงานของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนในอำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล;ณฐิตากานต์ พยัคฆา;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
สาวิตรี วิระราช
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของการให้น้ำต่อการเติบโต คุณภาพ และผลผลิตของดาวเรือง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ;ชูชาติ สันธทรัพย์
รัชนีกร แก้วปา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับสารจุลินทรีย์ควบคุมศัตรูพืชของเกษตรกรเครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืนแม่ทา ตำบลแม่ทา อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณฐิตากานต์ พยัคฆา;ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล;ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ
ณัฐกาล ฉันทะกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 23
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,031
รวม 3,054 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 102,215 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 204 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 172 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 26 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 14 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 102,637 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48