แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

พัฒนาฐานข้อมูลและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้ มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา

Organization : ผู้วิจัย

Organization : ผู้วิจัย

Organization : ผู้วิจัย
keyword: การเรียนรู้
; การพัฒนาฐานข้อมูล
; มรดกโลกทางวัฒนธรรม
; หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
; บริบทพระพุทธศาสนา
; พระพุทธศาสนา
Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ (1) เพื่อพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ (prototype) เกี่ยวกับฐานข้อมูลและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สำหรับการเรียนรู้มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบท พระพุทธศาสนา (2) เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลสำหรับการเรียนรู้มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบท พระพุทธศาสนา (3) เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สำหรับการเรียนรู้มรดกโลกทางวัฒนธรรมใน บริบทพระพุทธศาสนา โดยทำวิจัยแบบผสมผสานประกอบด้วยการวิจัยเชิงเอกสาร (documentary research) การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) และการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (participatory action research) ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) ผลการวิจัยพบว่า ความโดดเด่นในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร และพระนครศรีอยุธยา มีองค์ประกอบทางพระพุทธศาสนาอยู่ 5 ด้าน คือ ศาสนสถาน ศาสนวัตถุ ศาสนบุคคล ศาสนพิธี และศาสนธรรม ซึ่งสร้างขึ้นด้วยความเสื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาและได้ สืบทอดพระพุทธศาสนาจากยุคสุโขทัยสู่ยุคอยุธยาและต่อเนื่องถึงยุครัตนโกสินทร์ การสร้างศิลปวัตถุ หรือพุทธศิลป์แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาและสะท้อนถึงวัฒนธรรมประเพณี คติ การสร้าง เอกลักษณ์ของชาติ ซึ่งมีคุณค่าเชิงนามธรรมและรูปธรรมของอุทยานประวัติศาสตร์มรดก โลกทางวัฒนธรรม ตามกฎเกณฑ์ข้อที่ 1 คือเป็นแบบอย่างให้เห็นถึงการแสดงออกที่ชาญฉลาดของ มนุษย์ผ่านผลงานด้านศิลป์ และข้อที่ 3 คือเป็นสิ่งยืนยันถึงหลักฐานการมีอยู่ของวัฒนธรรมท้องถิ่น หรือประเพณีที่ยังคงเหลืออยู่หรือได้สาบสูญไป คุณค่าเชิงรูปธรรม ปรากฏในศาสนสถานที่เป็นเจดีย์ประธานทรงพุ่มข้าวบิณฑ์หรือทรง ดอกบัวตูม ทรงระฆังหรือทรงสังกา ทรงปรางค์ และศาสนวัตถุที่เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ปางลีลา นาคปรกปางสมาธิ ปางไสยาสน์ พระอัฏฐารศ โดยเจดีย์ประธานสร้างเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้า เป็นสัญสักษณ์ของการตั้งมั่นพระพุทธศาสนาในอาณาจักร ทำให้ตระหนักถึงคุณค่า เชิงพุทธปรัชญา คือหลักบุญกิริยาวัตถุ 3 ประการและหลักโอวาทธรรม 3 ประการ ส่วนพระพุทธรูป เป็นสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้า ทำให้ตระหนักถึงคุณค่าเชิงพุทธปรัชญา คือหลักอริยสัจ 4 และหลัก โพธิปักขิยธรรม 37 ประการ ในสมัยสุโขทัยนิยมสร้างพระพุทธรูปสี่อิริยาบถเพื่อให้ตระหนักถึงคุณค่า พุทธปรัชญา คือหลักมหาสติปัฏฐาน หลักธรรมสำคัญสรุปได้เป็นองค์ความรู้นวัตกรรมดิจิทัลใน รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบท พระพุทธศาสนา ได้เป็นเส้นทาง 3 เส้นทาง คือ (1) เส้นทางสายพระบรมสารีริกธาตุจักรวาลวิทยา "ไหว้พระธาตุ เพื่อ ทาน ศีล ภาวนา" (2) เส้นทางสายมหาสติปัฏฐาน "พัฒนาปัญญาเพื่อลดโทสะ" (3) เส้นทางสายอริยสัจ 4 ทางแห่งความดับทุกข์ "สัจจธรรมนำชีวิต รู้ ตื่น เบิกบาน" การนำข้อมูล โบราณสถาน 27 แห่ง จัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
Abstract: In this research, an attempt was purposely made: (1) to develop the prototype of database and e-book for learning world cultural heritage in the context of Buddhism, (2) to develop the database for learning world cultural heritage in the context of Buddhism, and (3) to develop the e-book for learning world cultural heritage in the context of Buddhism. The research employed mixed-methods research combining of documentary research, qualitative research and participatory action research including in-depth interview. The results of the study were clearly that the historical park's remarkableness of Sukhothai, Si Satchanalai, Kamphaeng Phet, and Phra Nakhon Si Ayutthaya basically encompass five kinds of Buddhist sites, the religious places, religious objects, religious persons, rituals and Buddha's teachings which somehow stem from strong faith in Buddhism and thereby being constantly passed down from Sukhothai to Ayutthaya till Rattanakosin period. In these respects, the creation of artistic objects or Buddhist arts was considerably regarded as the representation of the Buddhist prosperity and the reflection of the traditional culture, the ideal principle of creation and national characteristics whereby they provide the abstract and concrete value for such Historical Parks of World Cultural Heritage accorded with the 1*t criterion that it represents the formation of human beings' creativity through the artworks and the 3" criterion that it genuinely reflects upon the evidences on the existence of regional cultures or traditions which still remain or completely lost. The concrete values manifesting in the religious places which are the main pagoda hold the funnel being like float filled with rice used as offerings or shape of younger lotus, of bell or what is called 'Song Lanka', of pagoda, and religious objects manifesting in the Buddha image called 'Pang Mara Vijaya', 'Pang Leela', 'Phra Attharasa', 'Pang Nak Prok', and 'Pang Sai Yasa', for instance, where the chief pagoda for were deliberately established to keep the relic of Buddha by which they were symbolized as stability of Buddhism in the kingdoms resulting in the realization of the Buddhist philosophical values: the three meritorious acts and three admonitions or exhortations of the Buddha. As regards the Buddha images, they were symbolically represented as the Buddha leading to the realization of Buddhist philosophical values: the principle of Four Noble Truths and Thirty-seven Requisites of Enlightenment or Bodhipakkhiya-dhamma. In Sukhothai period, the four postures of Buddha images were highly created in order to provide the awareness of the Buddhist philosophical values: Mahasatipatthana. Therefore, the most important principles of Dhamma gained from the research can be concluded as the three meritorious routes so as to provide the body of knowledge concerning the digital innovation in the e-book platform in order to develop the learning processes of the cultural heritage in the context of Buddhism as follows: (1) the cosmology of Buddha's relic route means " the paying respect to the relic of Buddha for Dana (generosity), Sila (morality) and Bhavana (meditation)", (2) Mahasatipatthana route means "the development of wisdom to reduce the anger", and (3) the Four Nobel Truths route means "the life is led by the ultimate truths by which knowing, awakening and exhilarating could be made" respectively. The databases collected from these 27 religious places are published on the E-book platform.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ส่วนหอสมุดกลาง
Address: พระนครศรีอยุธยา
Email: library@mcu.ac.th
Role: ผู้ให้ทุน
Created: 2564
Modified: 2566-07-10
Issued: 2566-06-27
งานวิจัย/Research report
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 0051แม่ชีกฤษณา.pdf 11.36 MB4 2025-04-06 12:27:24
ใช้เวลา
0.020608 วินาที

แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม
Title Contributor Type
เหตุปัจจัยแห่งความเสื่อมสูญของภิกษุณีเถรวาทในยุคหลังพุทธกาล
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม

บทความ/Article
ร่องรอยภิกษุณีในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม

บทความ/Article
พระพุทธศาสนาในเซินเจิ้น: มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม

บทความ/Article
ปัญหาความซับซ้อนของขั้นตอนการบวชเป็นภิกษุณี
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร. แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม

บทความ/Article
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของชุมชนนักบวชหญิงในสังคมไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม

บทความ/Article
รูปแบบและกระบวนการจัดการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:กระบวนการเปลี่ยนแปลง เส้นทางบุญ สู่ เส้นทางธรรม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉมและคณะ

บทความ/Article
แม่ชีกับสภาพปัญหาและโอกาส ในการเข้าถึงอุดมศึกษาที่จัดโดยคณะสงฆ์ไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร. แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม

บทความ/Article
รูปแบบและกระบวนการสร้างจิตสาธารณะเพื่อการจัดการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
งานวิจัย/Research report
รูปแบบและกระบวนการสร้างจิตสาธารณะเพื่อการจัดการท่องเที่ยวของ แหล่งท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม;นัชชา ทากุดเรือ;ปริวุฒิ ภิญโญสินวัฒน์

บทความ/Article
สภาพปัญหาและแนวทางการเข้าถึงการศึกษาระดับสูงของแม่ชีไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม ;Dr.Martin Seeger;สมคิด เศษวงศ์
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รหัสโครงการ MCU RS 610656039
งานวิจัย/Research report
พัฒนาฐานข้อมูลและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้ มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม;กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์;พชรวีร์ ทองประยูร
ได้รับทุนอุดหนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม MCU RS 800764008
งานวิจัย/Research report
กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์
Title Contributor Type
ศึกษาวิเคราะห์หลักพุทธธรรมที่ปรากฏบนจิตรกรรมฝาผนังใน พระอุโบสถวัดทองธรรมชาติวรวิหาร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์
พระมหาทวี มหาปญฺโญ
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาวิเคราะห์จิตรกรรมฝาผนังในเชิงสัญวิทยา : กรณีศึกษา วัดสุวรรณาราม, วัดทองธรรมชาติ, วัดคงคาราม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์
พระปลัดสมชาย ปโยโค(ดำเนิน)
พระมหาทวี มหาปญฺโญ(ละลง)
กฤษณา รักษาโฉม
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาฐานข้อมูลและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้ มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม;กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์;พชรวีร์ ทองประยูร
ได้รับทุนอุดหนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม MCU RS 800764008
งานวิจัย/Research report
พชรวีร์ ทองประยูร
Title Contributor Type
การศึกษาวิเคราะห์การฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ของอนาคาริก ธรรมปาละ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พชรวีร์ ทองประยูร
สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง)
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาฐานข้อมูลสำหรับการท่องเที่ยววิถีพุทธในเมืองรอง 55 จังหวัด
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญโญ;แม่ชีเบญจวรรณ วงศ์ชูแก้ว;วิไลพร อุ่นเจ้าบ้าน;คชาภรณ์ วรวงศ์พิสิฐกุล;พชรวีร์ ทองประยูร
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม MCU RS 800764009
งานวิจัย/Research report
พัฒนาฐานข้อมูลและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้ มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม;กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์;พชรวีร์ ทองประยูร
ได้รับทุนอุดหนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม MCU RS 800764008
งานวิจัย/Research report
ได้รับทุนอุดหนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม MCU RS 800764008
Title Creator Type and Date Create
พัฒนาฐานข้อมูลและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้ มรดกโลกทางวัฒนธรรมในบริบทพระพุทธศาสนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ได้รับทุนอุดหนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม MCU RS 800764008
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม
กรรณิการ์ ตั้งตุลานนท์
พชรวีร์ ทองประยูร
งานวิจัย/Research report
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 9
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,465
รวม 2,474 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 209,246 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 677 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 543 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 49 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 43 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 24 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 4 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 210,592 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48