แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

คุณสมบติทางฟิสิกส์และเทคโนโลยีการอบไม้ยูคาลิปตัสสายต้น K58 และ K72
Physical properties and drying technology of eucalyptus clones K58 and K72

ThaSH: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์. วท.ม. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรมไม้และกระดาษ) 2560.
Classification :.LCCS: TS837
ThaSH: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. -- สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมไม้และกระดาษ -- วิทยานิพนธ์
ThaSH: ยูคาลิปตัส -- การอบแห้ง
ThaSH: การผึ่งและการอบไม้
ThaSH: ไม้ -- การอบแห้ง
ThaSH: การผึ่งและการอบไม้
Abstract: การวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาคุณสมบัติทางฟิสิกส์ และเทคโนโลยีการอบไม้ยูคาลิปตัสสายต้น K58 และ K72 ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางที่ความสูงเพียงอก 5 -6 นิ้ว ซึ่งสายต้น K58 เป็นสายต้นของ (E. urophylla) และสายต้น K72 เป็นสายต้นผสมระหว่าง (E. grandis x E. camaldulensis) โดยการศึกษาคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของเนื้อไม้ในแต่ละต้นได้ทำการทดลองที่ระดับความสูง แตกต่างกัน 5 ระดับ คือ 10, 220, 430, 640 และ 850 เซนติเมตร ตามลำดับ และวางแผนการ ทดลองแบบสุ่มซ้อนไม่สมบูรณ์ เพื่อใช้เป็นค่าพื้นฐานในการใช้ประโยชน์เป็นไม้แปรรูป และ เลือกใช้ปรับปรุงตารางอบไม้ให้เหมาะสมกับไม้ยูคาลิปตัสทั้งสองสายต้นนี้ต่อไป ซึ่งจากผลการทดลองพบว่า ไม้ยูคาลิปตัสสายต้น K58 และ K72 มีค่าความถ่วงจำเพาะที่สภาวะอบแห้งเฉลี่ยอยู่ที่ 0.67 และ 0.58 ตามลำดับ มีค่าความชื้นที่จุดหมาดอยู่ในช่วง 21 -27% และ 28 -33% ตามลำดับ เปอร์เซ็นต์การหดตัวจากสภาวะสดถึงสภาวะอบแห้งเฉลี่ยทางด้านสัมผัสด้านรัศมีและด้านตามยาวของสายต้น K58 มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 9.2%, 6.4% และ 0.6% ตามลำดับ ส่วนสายต้น K72 มี ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 8.6%, 5.3% และ 0.4% ตามลำดับ มีค่าเฉลี่ยความชื้นสมดุลย์ของการคายน้ำที่อุณหภูมิคงที่ที่ใกล้เคียงกัน ค่าการยอมให้ไหลผ่านทางด้านตามยาวของสายต้น K58 และ K72 มี ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 9.034 x 10-6m2 และ 2.723 x 10-6m2 ตามลำดับ และค่าสัมประสิทธิ์การแพร่กระจาย ความชื้นทางด้านตามขวางที่อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์เดียวกัน พบว่า สายต้น K72 มีค่า มากกว่าสายต้น K58 และในส่วนของการอบไม้ได้ทำการคัดเลือกตารางอบไม้จากเอกสารอ้างอิง และได้ทำการทดลองอบไม้เพื่อคัดเลือกตารางอบไม้ที่เกิดตำหนิจากการอบไม้น้อยที่สุดมาทำการ ปรับปรุง ซึ่งได้ทำการทดลองปรับปรุงตารางอบไม้โดยการทดลองหาสภาวะที่เหมาะสมของ ขั้นตอนการปรับสภาพความชื้นไม้ การปรับสภาพความชื้นซ้ำและทดลองการปรับค่าความชื้น สมดุลย์ในช่วงความชื้นของไม้ต่ำกว่าจุดหมาด แล้วทำการคัดเลือกตารางอบไม้ที่เหมาะสมสำหรับการอบไม้ยูคาลิปตัสสายต้น K58 และ K72 โดยการเปรียบเทียบตำหนิของการอบไม้ และพลังงานที่ใช้ในการอบไม้ In this research, physical properties and drying technology of two Eucalyptus (E.) clones were studied. Those are Eucalyptus clones K58 and K72 with a diameter at breast height average 5 -6 inches. E. Urophylla is clone K58 and a hybrid between E grandis and E. camaldulensis is clone K72. Five tree samples were collected from each clone. Physical properties of eucalyptus clones K58 and K72 were studied in each tree, samples were tested at 5 different height namely 10, 220, 430, 640 and 850 cm respectively. An experimental design was an unbalanced nested design. The results showed that an average specific gravity values of eucalyptus clones K58 and K72 are 0.67 and 0.58 respectively. Fiber saturation point (FSP)of clone K58 ranged 21 -27% is lower than FSP of clone K72 ranged 28 -33%. Shrinkage percentage from green to oven-dry condition in tangential, radial and longitudinal directions of clone K58 are 9.2%, 6.4% and 0.6% respectively. Shrinkage percentage of clone K72 are 8.6%, 5.3% and 0.4% respectively. Average equilibrium moisture content (EMC) of water desorption isotherm showed similar value two clones. Average value of permeability in longitudinal direction of clones K58 and K72 are 9.034 x 10-6m2and 2.723 x 10-6m2respectively. Moisture diffusion coefficient in transverse direction at same temperature and relative humidity of clone K72 is higher than that clone K58. Kiln drying were studied by selected kiln drying schedules from literature review. Those are the drying schedules were selected due to less percentage of defects after drying for improve a drying schedule. The first step is to examined the appropriate condition in conditioning step. The second step is to modify a reconditioning phase in a drying schedule. Finally, modification is to increased EMC at the beginning of FSP stage to the drying end. The appropriate kiln drying schedules for two clones were selected from the schedule that showed a less percentage of defects and the lower of energy.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักหอสมุด
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: tdckulib@ku.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
Created: 2560
Modified: 2566-06-13
Issued: 2566-06-13
วิทยานิพนธ์/Thesis
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: https://kasetsart.idm.oclc.org/login?url=https://www.lib.ku.ac.th/KUthesis/2560/pathompong-won-all.pdf
CallNumber: TS837.ป13
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 pathompong-won-all.pdf 11.07 MB1 2024-09-26 11:09:56
ใช้เวลา
0.041581 วินาที

ปฐมพงษ์ วงษ์อำภา
วิวัฒน์ หาญวงศ์จิรวัฒน์
Title Creator Type and Date Create
คุณสมบติทางฟิสิกส์และเทคโนโลยีการอบไม้ยูคาลิปตัสสายต้น K58 และ K72
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิวัฒน์ หาญวงศ์จิรวัฒน์ ;นิคม แหลมสัก
ปฐมพงษ์ วงษ์อำภา
วิทยานิพนธ์/Thesis
นิคม แหลมสัก
Title Creator Type and Date Create
การหาปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับกรรมวิธีการผลิตโอเอสแอลจากเศษเหลือไม้ยางพารา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
พรรณนิภา มาลานิตย์
Pannipa Malanit
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิต และการตลาดถ่านไม้ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
สมชาย โพธิ์ตระกูล
Somchai Potragoon
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความเหมาะสมของการผลิตแผ่นใยไม้อัดจากทางใบ, ลำต้นและทะลายผลเปล่าของปาล์มน้ำมัน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
กิติพงศ์ ตั้งกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ลักษณะทางกายวิภาค ฟิสิกส์และเชิงกลของไม้ก่อสาก (Quercus pachyloma, Seem)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
ทองสา บุญปะกอบ
วิทยานิพนธ์/Thesis
มูลค่าทางนันทนาการของสวนสัตว์พาต้าปิ่นเกล้า กรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
วิริยะ มิตรสิตะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตแผ่นชิ้นไม้อัดที่มีปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์ต่ำ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
ณัฐณรงค์ เอี่ยมมี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นของผู้บริหารโรงงานอุตสาหกรรมไม้ ที่มีต่อการลงทุนปลูกสร้างสวนป่าไม้เศรษฐกิจในจังหวัดชลบุรี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
บุญมี วัฒนากร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความเหมาะสมของกฎระเบียบด้านป่าไม้เกี่ยวกับการควบคุมเครื่องจักรในกิจการ อุตสาหกรรมไม้
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
พัฒนะ ศิริมัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การอบไม้สักแปรรูปโดยใช้พลังงานเหลือทิ้งจากการผลิตถ่าน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
มานพ ธรสินธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของประชาชนต่อกลุ่มพันธุ์ไม้ในวัดพระธรรมกาย อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
พรวดี พืชเพ็ญ, 2519-
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความเหมาะสมของไผ่หก และไผ่หวานอ่างขาง เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบผลิตแผ่นใยไม้อัดความหนาแน่นปานกลาง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
ปิยะวดี บัวจงกล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตและการตลาดของของเล่นจากไม้ยางพาราที่ผลิต จากโรงงานประดิษฐกรรมไม้ในจังหวัดตรัง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก ;วุฒิพล หัวเมืองแก้ว
เยาวลักษณ์ อินทรกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กมาก ตำบลอุดมทรัพย์ จังหวัดนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เดชรัต สุขกำเนิด;นิคม แหลมสัก
กฤษฎา ปรีชาบริสุทธิ์กุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคำนวณต้นทุนความเสียหายจากธุรกิจการปลูกสร้างสวนป่าไม้กฤษณา เพื่อกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัย : กรณีศึกษา บริษัท ทัชวู๊ด ฟอร์เรสตรี้ จำกัด
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;สาวิตรี พิสุทธิ์พิเชษฐ์
ปวีณา มั่งคล้าย
วิทยานิพนธ์/Thesis
แผ่นชิ้นไม้อัดจากเศษเหลือไม้กฤษณา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิวัฒน์ หาญวงศ์จิรวัฒน์;นิคม แหลมสัก
อิสรีย์ ฮาวปินใจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตไบโอเอทานอลจากลำต้นปาล์มน้ำมันที่ผ่านพรีทรีตเมนต์โดยวิธีการ ระเบิดด้วยไอน้ำ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์ ;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;นิคม แหลมสัก
เกียรติพงษ์ สงพรหม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตเอทานอลจากชีวมวลลิกโนเซลลูโลสโดยกระบวนการย่อย เป็นน้ำตาลและหมักพร้อมกัน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์ ;สาโรจน์ ศิริสันสนียกุล;นิคม แหลมสัก
วนิดา ปานอุทัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของการปิดเตาผลิตถ่าน ที่อุณหภูมิการผลิตต่างกัน ต่อสมบัติของถ่าน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก
อัจฉริยะ โชติขันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้แหล่งเงินทุนเพื่อปลูกไม้เศรษฐกิจของเกษตรกรใน จังหวัดนครนายก
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก ;วุฒิพล หัวเมืองแก้ว ;วิจักขณ์ ฉิมโฉม
ประเสริฐ บุญเรือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมศึกษาของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์บางกรวย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;วุฒิพล หัวเมืองแก้ว
ขจร ศรีทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการไม้สักจากสวนป่าเอกชนของโรงงานแปรรูปไม้ในกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;อภิชาต ภัทรธรรม
เกษมสันต์ แสงสีหนาท
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ในกรุงเทพมหานครที่มีต่อไม้พลาสติกเพื่องานเฟอร์นิเจอร์ และวัสดุก่อสร้างตกแต่ง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;สันติ สุขสอาด
ทักษิณา ชัยอิทธิพรวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพึงพอใจของผู้ประกอบกิจการอุตสาหกรรมไม้ต่อการให้บริการของ บุคลากร กลุ่มงานทรัพยากรธรรมชาติ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดสมุทรปราการ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;วุฒิพล หัวเมืองแก้ว
เฉลิมพงษ์ ฝอยทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการทำสวนไผ่ตงหม้อ (Dendrocalamus asper Backer) เพื่อใช้ประโยชน์ลำในจังหวัดปราจีนบุรี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;บุญวงศ์ ไทยอุตส่าห์
ณรรถพล ประสพโชค
วิทยานิพนธ์/Thesis
แผนยุทธศาสตร์ระดับชุมชนในการผลิตน้ำมันดีเซลจากชีวมวลไม้โตเร็ว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;พรรณนภา ศักดิ์สูง
กฤตภาส ศุภกรมงคล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตน้ำมันกฤษณาในพื้นที่ศึกษาจังหวัดจันทบุรี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;พงษ์ศักดิ์ เฮงนิรันดร์
วรลักษณ์ จินดาเวช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของสวนป่าพลังงาน สถานีพลังงานชีวมวลชุมชนนาหว้า ตำบลนาหว้า อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก ;มะลิวัลย์ หฤทัยธนาสันติ์
พัณบงกช ปาณมาลา
วิทยานิพนธ์/Thesis
สมบัติทางกายภาพและสมบัติเชิงกลของลำไผ่ตงและลำไผ่จีน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;ทองฟู ศิริวงศ์
สุริยา แก้วบัวดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตถ่านกัมมันต์จากไม้ไผ่โดยใช้เตาเผาถ่านประยุกต์ KP1 และ KP3
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พงษ์ศักดิ์ เฮงนิรันดร์;ไตรรัตน์ เนียมสุวรรณ;นิคม แหลมสัก
กิตติธัช สัจจากุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมด้านป่าไม้ต่อการจัดการป่าชุมชน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;พสุธา สุนทรห้าว
นภัสกร ธนเกษมสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอทานอลจากเยื่อลำต้นปาล์มน้ำมันโดยการย่อยเป็นน้ำตาลและการหมักพร้อมกันแบบครั้งคราว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;นิคม แหลมสัก
นงรักษ์ เขียนปัญญา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้ยูเรียและไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในการผลิตเอทานอลด้วยกระบวนการย่อยเป็นน้ำตาลและหมักพร้อมกันแบบเบ็ดเสร็จ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;นิคม แหลมสัก
นพวรรณ ด่านบำรุงตระกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
คุณสมบติทางฟิสิกส์และเทคโนโลยีการอบไม้ยูคาลิปตัสสายต้น K58 และ K72
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิวัฒน์ หาญวงศ์จิรวัฒน์ ;นิคม แหลมสัก
ปฐมพงษ์ วงษ์อำภา
วิทยานิพนธ์/Thesis
คุณสมบัติทางฟิสิกส์และทางกลของไม้สักตัดขยายระยะ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;นิคม แหลมสัก;วิวัฒน์ หาญวงศ์จิรวัฒน์
กัลจาริณี ชำนาญกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาสูตรอาหารต้นทุนต่ำเพื่อการผลิตเอทานอลจากเยื่อลำต้นปาล์มโดยกระบวนการย่อยเป็นน้ำตาลและหมักพร้อมกันแบบเฟดแบตช์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;นิคม แหลมสัก
ฝนทิพย์ เลียงวัฒนชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ : กรณีศึกษาโรงงานชีวมวลอัดเม็ด ตำบลโนนม่วง อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นุชนาถ มั่งคั่ง;นิคม แหลมสัก
เทพา ผุดผ่อง
วิทยานิพนธ์/Thesis
มูลค่าการให้บริการด้านการเป็นแหล่งผลิตของป่าสงวนแห่งชาติ ป่าหนองเต็ง และป่าจักราช จังหวัดนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิคม แหลมสัก;สันติ สุขสอาด
บัวหลัน ขันทะลี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทางธุรกิจกับปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการใช้ไม้ของผู้ประกอบกิจการอุตสาหกรรมไม้ในจังหวัดสระแก้ว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;จงรัก วัชรินทร์รัตน์;นิคม แหลมสัก
ธนพล โนนเภา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการธนาคารต้นไม้ของภาคประชาชนและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ในจังหวัดชุมพร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;นิคม แหลมสัก;สคาร ทีจันทึก
สุธิตา โชติกวนิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของการใช้ปุ๋ย ระยะปลูกและความสูงการตัดที่รองรับการใช้เครื่องจักรในการเก็บเกี่ยว ต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตชีวมวล และองค์ประกอบทางพลังงานของกระถินยักษ์พันธุ์ทารัมบ้า ในพื้นที่ดินเค็มและการผลิตเป็นชีวมวลอัดแท่ง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เอ็จ สโรบล;ปิยะ ดวงพัตรา;นิคม แหลมสัก;ทรงยศ โชติชุติมา
นพ ตัณมุขยกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 53
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,094
รวม 3,147 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 94,805 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 97 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 61 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 17 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 16 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 12 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 95,010 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180