แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

โอทอปนวัตวิถี : การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวของหมู่บ้านหนองมะจับ ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

Organization : ผู้วิจัย
keyword: โอทอปนวัตวิถี
; ชุมชนท่องเที่ยว
; หมู่บ้านหนองมะจับ
Abstract: วิทยานิพนธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาบริบท กิจกรรมและกระบวนการท่องเที่ยวโอทอปนวัตวิถีของบ้านหนองมะจับ ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนบ้านหนองมะจับ ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวกับการพัฒนาชุมชนบ้านหนองมะจับ ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยศึกษาเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) จากแบบสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informal) จำนวน 20 รูป/คน ผลการวิจัย พบว่า ชุมชนแห่งนี้มีผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่หลากหลาย ได้แก่ ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลิตผลทางการเกษตร วัสดุธรรมชาติ เครื่องใช้ในครัวเรือน สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ สถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และตลาดชุมชน เส้นทางปั่นจักรยานการท่องเที่ยวในชุมชน โดยมีคณะกรรมการดูแลรับผิดชอบการจัดการโครงการท่องเที่ยวโอทอปนวัตวิถี ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน พบว่า 1. ปัจจัยภายใน คือ ความสามัคคีในชุมชน กองทุนหมู่บ้าน การสร้างอาชีพ และผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรแปรรูป และ 2. ปัจจัยภายนอก คือ หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานท้องถิ่น และสถาบันการศึกษาสนับสนุนด้านเงินทุน องค์ความรู้ และประชาสัมพันธ์ ทำให้โครงการได้รับรางวัลหมู่บ้านพอเพียงระดับอำเภอ รูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวกับการพัฒนาชุมชนบ้านหนองมะจับ ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า หลักการ 3 ประการของกระบวนการ OVOP ดังต่อไปนี้ 1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ระดับสากล (Local to International) คือ การใช้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นในการสร้างเอกลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ การผลิตสินค้าที่จับต้องไม่ได้ การบริหารจัดการตลาดและสินค้า เพื่อสร้างความเป็นหนึ่งเดียวให้กับสินค้าและการบริการท่องเที่ยว 2. การพึ่งตนเองและคิดอย่างสร้างสรรค์ (Self-Reliance Creativity) คือ การพัฒนาผู้ประกอบการรายเดียว (SMEs) ที่มีความคิดสร้างสรรค์โดยใช้สื่อออนไลน์ การรวมกลุ่มระดับชุมชน การพัฒนากองทุนชุมชน เพื่อสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าและการบริการท่องเที่ยว 3. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) พบว่า คือ การพัฒนาทักษะด้านอาชีพและความรู้ด้านการประกอบการท่องเที่ยวชุมชน การมีหน่วยฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพของชุมชน การจัดการความรู้ (KM) โดยชุมชน ผ่านการให้ความร่วมมืออย่างมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
Abstract: This thesis is of three specific objectives: 1) to carefully examine the context and activities as well as the process of the OTOP Innov-Life Tourism of Nong Majub Village, Mae Faek Sub district, Sansai District, Chiang Mai Province, 2) to explore factors affecting the development of tourism in Nong Majub Village Community, Mae Faek Sub district, Sansai District, Chiang Mai Province and 3) to analyze of the model of tourism development and community development of Ban Nong Majub, Mae Faek Subdistrict, Sansai District, Chiang Mai Province. This research was conducted by a qualitative research method by using in-depth interviews and group discussions with 20 key informants. The results revealed the community had a broad range of community products, including agricultural and natural materials, household goods, natural attractions, cultural attractions and community markets, community cycling routes with the Board of Directors responsible for managing the Innov-Life Tourism Project. Factors affecting community tourism development remain internal factors including community harmony, village funds, occupational building and processed agricultural products. External factors include government agencies, local authorities and academic institutions, funding, knowledge and official relations that resulted in the project being awarded to sufficiency villages at the district level. Tourism Development Model with Ban Nong Ma Chap Community Development Chiang Mai province found that the three principles of the OVOP process are as follows: 1. The local wisdom to the international level is the use of local wisdom and culture to produce a unique product, tangible product manufacturing, market management and goods to promote unity in goods and travel services. 2. The Self-reliance and creative thinking represent the development of creative unique entrepreneurs (SMEs) using online media, community integration, community fund development to make a difference to goods and travel services. 3. Human Resource Development is the development of excellent skills and knowledge in community tourism, the presence of community training and professional development units, knowledge management (KM) by the community through the cooperation of all parties.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ส่วนหอสมุดกลาง
Address: พระนครศรีอยุธยา
Email: library@mcu.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Created: 2563
Modified: 2023-07-07
Issued: 2566-05-15
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 sfcpuVx9JPFUpmZF8ujgGjKvvtBseMT4yvKbX248.pdf 6.66 MB10 2025-05-21 13:48:02
ใช้เวลา
0.025473 วินาที

ว่าที่ร้อยตรีวิชญ์พล วสิษฐ์พลพงศ์
Title Contributor Type
โอทอปนวัตวิถี : การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวของหมู่บ้านหนองมะจับ ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าที่ร้อยตรีวิชญ์พล วสิษฐ์พลพงศ์
ดร.ส่งเสริม แสงทอง
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ดร.ส่งเสริม แสงทอง
Title Creator Type and Date Create
สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต ๑
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาณรงค์ กนฺตสีโล, ผศ;ดร.ส่งเสริม แสงทอง
พระครูสมุห์บุญเลิศ ชยวํโส (ชัยวงษ์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาวิเคราะห์วิธีการสอนของพระพุทธพจนวราภรณ์(จันทร์ กุสโล)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาดวงจันทร์ คุตฺตสีโล ดร. ;ผศ.,ดร.พูนชัย ปันธิยะ;ดร.ส่งเสริม แสงทอง
พระมานิตย์ ญาณธโร( สีทะ)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความเชื่อและพิธีกรรมล้านนาที่มีความสัมพันธ์กับการสร้างเสริมสุขภาวะของชุมชน: กรณีศึกษา สำนักปู่ใหญ่จัยยะลังกา ตำบลน้ำบ่อหลวง อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ส่งเสริม แสงทอง;พระครูศรีปริยัตยารักษ์, ดร.
คงศักดิ์ ชัยลังกา
วิทยานิพนธ์/Thesis
โอทอปนวัตวิถี : การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวของหมู่บ้านหนองมะจับ ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ส่งเสริม แสงทอง;ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์
ว่าที่ร้อยตรีวิชญ์พล วสิษฐ์พลพงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์
Title Creator Type and Date Create
แนวทางการอนุรักษ์และส่งเสริมการออกแบบผ้าทอกี่เอวของกลุ่มแม่บ้าน ชาติพันธุ์กะเหรี่ยง บ้านไม้สลี ตำบลตะเคียนปม อำเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดลำพูน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;พระครูศรีปริยัตยารักษ์, ดร.
อรทัย ไหมแก้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาทักษะการใช้ชีวิตของเยาวชนในสังคมร่วมสมัยของโรงเรียนวิถีพุทธ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์; ดร.ประเสริฐ บุปผาสุข
พระคตินันท์ นนฺทวโร (คำปัน)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของตำบลเมืองก๋าย อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;พระครูศรีปริยัตยารักษ์, ดร.
พระมหาทิวากร ขตฺติยสิริ (ขัติยะ)
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการพัฒนาพื้นที่เชิงสร้างสรรค์ของคณะสงฆ์ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูศรีปริยัตยารักษ์, ดร.;ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์
พระอภิรักษ์ ญาณสํวโร (ฤกษ์เวียง)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การทำฉัตรล้านนาเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ของชุมชนวัดกู่ม่าน ตำบลสันปูเลย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;พระครูศรีปริยัตยารักษ์, ดร.
พระคติพล คมฺภีรปญฺโญ (อะทะเทพ)
วิทยานิพนธ์/Thesis
พุทธวิธีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการทางการเคลื่อนไหวโรงเรียนศรีสังวาลย์เชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;พระครูศรีปริยัตยารักษ์, ดร.
พระกัมปนาท กิตฺติวิสุทฺโธ (กันทาเดช)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุบ้านแม่โป่ง ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;ดร.ประเสริฐ บุปผาสุข
เสงี่ยม ศิรินวน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลดความเหลื่อมล้ำทางกฎหมายเพื่อสร้างสันติสุขของชุมชน ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;ผศ. ดร.สหัทยา วิเศษ
ทองสุข ศิรินวน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ตำบลเหมืองแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ประเสริฐ บุปผาสุข;ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์
พิกุล เถาวัลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิดคดีลักทรัพย์เรือนจำกลางเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;ผศ. ดร.สหัทยา วิเศษ
ฉัตรชัย อุประแสน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของอำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ประเสริฐ บุปผาสุข;ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์
จ่าสิบเอกทนงศักดิ์ กุมะณา
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของคนไร้สัญชาติ ของชุมชนพื้นที่ บ้านแก่งทรายมูล ตำบลท่าตอน อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;ผศ. ดร.สหัทยา วิเศษ
พระมหาชนกันต์ ฐิตพุทฺธิ (ปัญญาวัธนสกุล)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบูรณาการภูมิปัญญาล้านนา กับหลักพุทธธรรมเพื่อการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยผู้สูงอายุของประชาชนในชุมชน แขวงนครพิงค์ เขตเทศบาลนคร จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ประเสริฐ บุปผาสุข;ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์
อัจฉราพร ชนะเลิศ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาพฤติกรรมการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุตามหลักภาวนา ๔ ในเขตพื้นที่ ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;พระครูศรีปริยัตยารักษ์, ดร.
สุพักร์ ผิวศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
โอทอปนวัตวิถี : การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวของหมู่บ้านหนองมะจับ ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ส่งเสริม แสงทอง;ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์
ว่าที่ร้อยตรีวิชญ์พล วสิษฐ์พลพงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาสังคมแบบมีส่วนร่วม ตามหลักพุทธธรรม ของเทศบาลตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;ดร.ประเสริฐ บุปผาสุข
เฉลิมพล จินา
วิทยานิพนธ์/Thesis
นโยบายและกระบวนการพัฒนาสังคมของเทศบาลนครเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ประเสริฐ บุปผาสุข;ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์
DEP CHAU
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการทุนทางสังคมเพื่อการพัฒนา: กรณีศึกษาคณะสงฆ์อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์;พระครูศรีปริยัตยารักษ์, ดร.
พระรักษ์ สิริเมธี (หงส์สิงห์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบูรณาการหลักปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 กับการพัฒนาสภาวะจิตผู้มาปฏิบัติธรรม ณ วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม) ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดร.ประเสริฐ บุปผาสุข;ดร.ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์
พระอภิสิทธิ์ อภิญาโณ (ชื่องาม)
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 11
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,732
รวม 2,743 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 212,334 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 681 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 552 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 49 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 43 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 24 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 4 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 213,693 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48