แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การหาสภาวะที่เหมาะสมของการผลิตเอนไซม์อินูลิเนสและอินเวอร์เทสจากยีสต์ Candida guilliermondii TISTR 5844 และเชื้อรา Aspergillus niger TISTR 3570 และการคัดแปลงพันธุกรรมของยีสต์ Pichia pastoris GS115
Optimization of inulinase and invertase production from Candida guilliermondii TISTR 5844 and Aspergillus niger TISTR 3570 and genetic modification of Pichia pastoris GS115

ThaSH: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์. ปร.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) 2560
Classification :.LCCS: TP248.65.E59
ThaSH: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ -- วิทยานิพนธ์
ThaSH: เอนไซม์จุลินทรีย์
ThaSH: อินูลิน
ThaSH: ยีสต์
ThaSH: แอสเปอร์จิลลัส ไนเจอร์
Abstract: Aspergillus nigerTISTR 3570 และ Candida guilliermondii TISTR 5844 ซึ่งคัดแยกจากหัวเยรูซาเล็มอาร์ทิโช้ค สามารถผลิต เอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส (bFFase) ได้เป็นอย่างดีงานวิจัยนี้จึงศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการ ผลิตเอนไซม์ หาสภาวะการทํางานของเอนไซม์ในถังปฏิกรณ์เอนไซม์ และการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอนไซม์เอนโดอินูลิเนสจากเชื้อรา A.nigerTISTR 3570 โดยการดัดแปลงยีนในยีสต์ Pichia pastoris GS115 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตเอนไซม์อินเวอร์เทสด้วยยีสต์ C. guilliermondii TISTR 5844ได้แก่ พีเอชและอุณหภูมิ (R2= 0.822 และ p < 0.05) แต่ปัจจัยทั้งสองไม่มีอิทธิพลต่อการผลิตเอนไซม์อินูลิเนสโดยมีแหล่งคาร์บอนและไนโตรเจนที่เหมาะสม ได้แก่ อินูลิน และแอมโมเนียมคลอไรด์ตามลําดับ เมื่อศึกษาองค์ประกอบของอาหารเพาะเลี้ยงที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส และอินเวอร์เทสโดยวิธีทะกุจิ ได้สภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส (56.41 หน่วย/ลิตร) ที่ความเข้มข้นเริ่มต้นของอินูลิน 1% แอมโมเนียมคลอไรด์ 2.4% แมกนีเซียมซัลเฟต 1.2% และพีเอช 5 และสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์อินเวอร์เทส (552.12 หน่วย/ลิตร) ที่ความเข้มข้นเริ่มต้นของอินูลิน 5% แอมโมเนียมคลอไรด์ 4.8% แมกนีเซียมซัลเฟต 1.2% และพีเอช 6 สําหรับองค์ประกอบของอาหารเพาะเลี้ยงที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และ bFFase ด้วยเชื้อรา A. nigerTISTR 3570 ได้แก่ ความเข้มข้นเริ่มต้นของอินูลิน 5% ยีสต์สกัด 1.2% แมกนีเซียมซัลเฟต 0.6% และพีเอช6 ซึ่งเอนไซม์ที่ผลิตจากเชื้อรามีความเสถียรที่ช่วงอุณหภูมิสูง (25–80ºC) โดยมีกิจกรรมเอนไซม์อินูลิเนสอินเวอร์เทสและ bFFase สูงสุดที่อุณหภูมิ 70ºC 65ºC และ 60ºC ตามลำดับ แต่เอนไซม์อินเวอร์เทสและ bFFase มีความเสถียรของเอนไซม์ที่อุณหภูมิเท่ากับ 55ºC และ 50ºC ตามลำดับ โดยเอนไซม์อินูลิเนสมีความเสถียรที่พีเอช4–10 แต่เอนไซม์อินเวอร์เทสและ bFFase มีความเสถียรที่พีเอช4–9 ซึ่งเอนไซม์อินูลิเนสและ bFFase มีกิจกรรมสูงสุดที่พีเอช 5 และเอนไซม์อินเวอร์เทสมีกิจกรรมสูงสุดที่พีเอช 4 การเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตเอนไซม์ในถังปฏิกรณ์ชีวภาพภายใต้สภาวะที่มีความเสถียรของอุณหภูมิและพีเอช โดยการพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์อธิบายความเสถียรและกิจกรรมของเอนไซม์จากเชื้อรา A. nigerTISTR 3570 เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมต่อกิจกรรมและความเสถียรของเอนไซม์และครึ่งชีวิตของเอนไซม์ซึ่งได้ทํานายอุณหภูมิที่เหมาะสมของต่อกิจกรรมเอนไซม์อินูลิเนสและ อินเวอร์เทสเท่ากับ 39oC โดยมีครึ่งชีวิตของเอนไซม์อินูลิเนสและอินเวอร์เทสเท่ากับ 145.0 นาที และ1,108.6 นาที ตามลำดับ และอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อกิจกรรมเอนไซม์ bFFase เท่ากับ 42oC โดยมีครึ่งชีวิตของเอนไซม์ bFFase เท่ากับ 690.4 นาที และได้ทำนายพีเอชที่เหมาะสมต่อกิจกรรมเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และ bFFase เท่ากับ 5.4 4.9 และ 5.6 โดยมีครึ่งชีวิตของเอนไซม์ทั้งสามเท่ากับ 58.7283.4 และ 908.5 นาที ตามลำดับ สำหรับการปรับปรุงการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส โดยการโคลนยีนเอนโดอินูลิเนสจากเชื้อรา A. nigerTISTR 3570 ให้แสดงออกในยีสต์ Pichia pastoris GS115 อาศัยโปรโมเตอร์ GAP ได้ยีสต์รีคอมบิแนนต์หมายเลข 26 ที่ผลิตเอนไซม์เอนโดอินูลิเนสที่มีกิจกรรมเอนไซม์ สูงสุดเท่ากับ 714.40 หน่วย/ลิตรกิจกรรมเอนไซม์จำเพาะเท่ากับ 2,542.99 หน่วย/กรัมโปรตีน และอัตราการผลิตเอนไซม์เท่ากับ 117.96 หน่วย/ลิตรชั่วโมงภายใต้สภาวะการเจริญต่ำของยีสต์ ในอาหารเพาะเลี้ยง YPD ที่มีกลูโคส 2% ที่อุณหภูมิ 30oC และความเร็วรอบ 250 รอบ/นาที ระยะเวลาเพาะเลี้ยง 6 ชั่วโมง ได้คอมบิแนนต์เอนโดอินูลิเนสที่มีสมบัติของพีเอชและอุณหภูมิที่เหมาะสมเท่ากับ 7 และ 30oC ตามลำดับ และความเสถียรของพีเอช 7–8 และความเสถียรของอุณหภูมิ 30–40oC การดัดแปลงพันธุกรรมยีสต์โดยอาศัยโปรโมเตอร์ GAP สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตเอนไซม์เอนโดอินูลิเนสได้ Aspergillus nigerTISTR 3570 and Candida guilliermondii TISTR 5844, previously isolated from Jerusalem artichoke tuber, were found to be good producers of inulinases, invertase and ß-fructofuranosidase (bFFase). Thus, the aim of this study was focused on optimization of these enzymes production, optimal enzyme reactor design, and improvement of endo-inulinase from A. nigerTISTR 3570 by genetic modification. The optimization of inulinases and invertase production from C. guilliermondii TISTR 5844 was studied. The most significant factors influencing invertase production were pH and temperature (R2= 0.822, p < 0.05), but these two factors were not significantly influenced on inulinase production. The best carbon and nitrogen sources for enzymes production were inulin and NH4Cl, respectively. Then, the medium composition was optimized by Taguchi method. Optimal medium composition for producing inulinases (56.41 U/L) were 1% inulin, 2.4% NH4Cl and 1.2% MgSO4·7H2O with initial pH 5, whereas the production of invertase (552.12 U/L) was maximized with the medium containing 5% inulin, 4.8% NH4Cl, 1.2% MgSO4·7H2O with initial pH 6. Also, inulinase, invertase and bFFase produced byA. nigerTISTR 3570 were maximized with the medium containing 5% inulin, 1.2% yeast extract, 0.6% MgSO4·7H2O with initial pH 6. Additionally, the fungal enzymes were found thermostable over a wide range of temperature (25–80ºC). The activities of inulinases, invertase and bFFase from A. nigerTISTR 3570 were highest at 70 65 and 60ºC, respectively. However, the stability of invertase and bFFase were below 55 and 50ºC. On the other hand, inulinase activity was stable over the range of pH 4–10, while the activities of invertase and bFFase were stable over the pH range at 4–9. Whereasthe activities of inulinase and bFFase were optimal at pH 5, and the activity of invertase was optimal at pH 4. The practical use of enzyme reactions is preferable to stabilize the enzymesat lower temperature. Thus, the mathematical modeling of stability and activity of the crude mixed enzyme from A. nigerTISTR 3570was developed. The observations revealed the optimal activity and stability of enzymes, as well as the enzyme processing time (half-life). From the predictions, an optimal temperature for inulinases and invertase activities was 39oC, resulting in their half-life of 145.0 and 1,108.6 min, respectively. An optimal temperature for bFFaseactivity was predicted at 42oC with 690.4-min half-life. For the optimal pH of inulinase, invertase and bFFase activity, pH 5.4, 4.9 and 5.6were obtained with 58.7-min, 283.4-min and 908.5-minhalf-life, respectively. Alternatively, the endo-inulinase from A. nigerTISTR 3570was improved by gene overexpression in Pichia pastoris GS115 using the glyceraldehyde-3-phosphate dehydrogenase (GAP) promoter.The transformed yeast NO.26 was shown the highest endo-inulinase activity at 714.40 U/L. The specific activity (2,542.99 U/g protein) and productivity (117.96 U/Lh) were obtained under low cell growth rate, which cultured in YPD mediumcontaining 2% glucoseat 30oC on a rotary shaker with 250-rpm agitation for 6 h. The optimal pH and temperature of the recombinant endo-inulinase were pH 7 and 30ºC, respectively. Furthermore, therecombinant endo-inulinase activity was stable in range of pH of 7–8 and temperature of 30–40oC.The use of constitutiveGAPpromotermade the production of the recombinant endo-inulinase more straightforward.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักหอสมุด
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: tdckulib@ku.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
Created: 2560
Modified: 2566-04-19
Issued: 2566-04-19
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: https://kasetsart.idm.oclc.org/login?url=https://www.lib.ku.ac.th/KUthesis/2560/molnapat-son-all.pdf
TP248.65.E59.ม171
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 molnapat-son-all.pdf 4.04 MB
ใช้เวลา
0.020477 วินาที

สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
Title Creator Type and Date Create
การผลิตกรดแลกติกด้วยการหมักแบบต่อเนื่องที่มีระบบหมุนเวียนเซลล์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
เกสร กิตติกุศลธรรม
Kesorn Kittikusolthum
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตกรดแลกติกด้วยการหมักแบบต่อเนื่องสองขั้นตอน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
มีชัย ลัดดี
Meechai Luddee
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตอินูโลโอลิโกแซ็กคาไรด์ด้วยวิธีทางเอนไซม์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
ทิฆัมพร ตันติวิมงคล
Thikumporn Tantivimongkol
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตไซลิทอลโดยการหมุนเวียนเซลล์ด้วย hollow fibers
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
วรสิทธิ์ โทจำปา
วิทยานิพนธ์/Thesis
จลนพลศาสตร์การเติบโตของ Candida Utilis TISTR 5001 ภายใต้การเพาะเลี้ยงแบบให้อากาศ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
นันทพร พึ่งสังวร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตกรดแลกติกด้วยเซลล์ตรึงของ Lactococcus lactis IO- 1 โดยวิธี Taguchi
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
ติยะภรณ์ เหลืองพิพัฒน์, 2523-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตฟรุกโทสจากอินูลินด้วยเอนไซม์อินูลิเนส
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
นิศากร วรวุฒิยานันท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตไซลิทอลโดยเซลล์ที่ห่อหุ้มด้วยลิควิดอิมัลชันเมมเบรน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
ฤทธิกร ชายน้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตกรดแลกติกด้วยเซลล์ตรึง Lactobacillus rhamnosus ATCC 10863
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
ชลลดา ศิริเสตสุวรรณ, 2524-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การหาสภาวะที่เหมาะสมของการผลิตฟรุกโทสและอินูโลโอลิโกแซ็กคาไรด์จากเยรูซาเล็มอาร์ทิโช้คด้วยเอนไซม์อินูนิเนสผสม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;วิรัตน์ วาณิชย์ศรีรัตนา;ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์
กชกร ปรางค์วิเศษ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตน้ำส้มสายชูหมักแบบต่อเนื่องจากไวน์สับปะรด
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;วิรัตน์ วาณิชย์ศรีรัตนา;ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์
ศุภาวิชญ์ฐา สุวรรณแพทย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตไซโคลเด็กซ์ทรินโดยวิธีทากุชิ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิรัตน์ วาณิชย์ศรีรัตนา;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์
อรอุมา หล้าแหล่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตไซลิทอลแบบครั้งคราวซ้ำโดย Candida magnoliae TISTR 5663
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;วิรัตน์ วาณิชย์ศรีรัตนา;ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์
ศิวพร วรรณวิไล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตไบโอเอทานอลจากลำต้นปาล์มน้ำมันที่ผ่านพรีทรีตเมนต์โดยวิธีการ ระเบิดด้วยไอน้ำ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์ ;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;นิคม แหลมสัก
เกียรติพงษ์ สงพรหม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากรรมวิธีการผลิตแป้งอินูลินและอินูโลโอลิโกแซ็กคาไรด์ ทางอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิรัตน์ วาณิชย์ศรีรัตนา;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์;ธนะบูลย์ สัจจาอนันตกุล
อัครชัย ปรักกมะกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตกลูโคแมนแนนจากบุกโดยการเพาะเลี้ยงเซลล์แขวนลอย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;สุนีย์ นิธิสินประเสริฐ;มงคล เกษประเสริฐ
ธเนษฐ โชติกมาศ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การหาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตทริฮาโลสโดย Propionibacterium acidipropionici DSM 20273
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
สุคนธ์ทิพย์ เสือเฒ่า
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากระบวนการผลิตพอลิแกมมา-กลูตามิกแอซิดโดยวิธีการหมักเพื่อประยุกต์เป็นพอลิเมอร์ไฮโดรเจล
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
ณัฐวุฒิ คงกล่อม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตสารกลุ่มเคอร์คูมินอยด์ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของขมิ้นชัน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิรัตน์ วาณิชย์ศรีรัตนา;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์;สิริภัทร์ พราหมณีย์
ปิยะมาศ ศรีรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การหาสภาวะที่เหมาะสมของการผลิตเอนไซม์อินูลิเนสและอินเวอร์เทสจากยีสต์ Candida guilliermondii TISTR 5844 และเชื้อรา Aspergillus niger TISTR 3570 และการคัดแปลงพันธุกรรมของยีสต์ Pichia pastoris GS115
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
มลนพรรษ สงค์พิมพ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การหาสถานะที่เหมาะสมในการทำแห้งเพื่อผลิตผงอินูลินจากหัวแก่นตะวันและการประยุกต์ใช้ในไอศกรีม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วีรเชษฐ์ จิตตาณิชย์;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;สิริชัย ส่งเสริมพงษ์
รวีภรณ์ จิรายุเจริญศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากระบวนการผลิตอินูลินผงจากหัวแก่นตะวันโดยประยุกต์ใช้วิธีการให้ความร้อนแบบโอห์มมิคและการทำให้บริสุทธิ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;วีรเชษฐ์ จิตตาณิชย์;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;เยาวภา หล่อเจริญผล
พิชญกานต์ เติมฤทธิกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอทานอลจากเยื่อลำต้นปาล์มน้ำมันโดยการย่อยเป็นน้ำตาลและการหมักพร้อมกันแบบครั้งคราว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;นิคม แหลมสัก
นงรักษ์ เขียนปัญญา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้ยูเรียและไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในการผลิตเอทานอลด้วยกระบวนการย่อยเป็นน้ำตาลและหมักพร้อมกันแบบเบ็ดเสร็จ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;นิคม แหลมสัก
นพวรรณ ด่านบำรุงตระกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาสูตรอาหารต้นทุนต่ำเพื่อการผลิตเอทานอลจากเยื่อลำต้นปาล์มโดยกระบวนการย่อยเป็นน้ำตาลและหมักพร้อมกันแบบเฟดแบตช์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์;สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;นิคม แหลมสัก
ฝนทิพย์ เลียงวัฒนชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็กระดับขยายกำลังผลิตเพื่อผลิตน้ำมันสาหร่ายและไบโอดีเซล
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
ณัฐวุฒิ ยอดสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตไซลิทอลจากวัสดุเหลือทิ้งลิกโนเซลลูโลสโดย Candida magnoliae TISTR 5663
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล
ศิวพร วรรณวิไล
วิทยานิพนธ์/Thesis
พิลาณี ไวถนอมสัตย์
Title Creator Type and Date Create
การดูดซับไอร์ออน (II) ไอออนในสารละลายด้วยผักตบชวาและสะเดา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิพนธ์ ตันคณานุรักษ์;พิลาณี ไวถนอมสัตย์;เกษม จันทร์แก้ว
ธิดารัตน์ ศิริสกุลไพศาล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การดูดซับซัลไฟด์ไอออนในน้ำเสียด้วยสลัดจ์จากระบบบำบัดน้ำเสียเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี และเทศบาลเมืองเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิพนธ์ ตันคณานุรักษ์;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
สุนิดา ทองโท
วิทยานิพนธ์/Thesis
การดูดซับฟีนอลและอนุพันธ์ของฟีนอลในสารละลายด้วยกกสามเหลี่ยมและบอน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิพนธ์ ตันคณานุรักษ์;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
อิสระ ตั้งสุวรรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การดูดซับฟีนอลและอนุพันธ์ของฟีนอลในสารละลายด้วยสลัดจ์จากบ่อน้ำเสีย โครงการแหลมผักเบี้ย จังหวัดเพชรุบรีและจังหวัดสุพรรณบุรี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์;พิลาณี ไวถนอมสัตย์;เกษม จันทร์แก้ว
เชิดพงศ์ เหลียวพัฒนพงศ์, 2526-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเตรียมตัวดูดซับจากดักแด้ไหมเพื่อการกำจัดสีรีแอกทีฟบลู 19 และสีรีแอกทีฟเรด 3
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศวพร ศุภผล;นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
ชาติชาย อิ่มเกษรรุ่งเจริญ, 2526-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอนไซม์ย่อยสลายลิกนินจาก Lentinus strigosus และการประยุกต์ใช้ในการบำบัดสีย้อม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาวิตรี จันทรานุรักษ์;พิลาณี ไวถนอมสัตย์;วิทยา ปั้นสุวรรณ;ต่อพงศ์ กรีธาชาติ
จิรเวท เจตน์จันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับสีย้อมรีแอคทีฟ (RBBR) ด้วยถ่านกัมมันต์จากไม้สน และไม้สัก และถ่านกัมมันต์นอริท
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณิตา ตังคณานุรักษ์;พิลาณี ไวถนอมสัตย์;นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์
พิชชาภัทร์ กุลมา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลดสีย้อมสังเคราะห์โดยราขาว Lentinus strigosus
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาวิตรี จันทรานุรักษ์ ;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
ดำรงรัตน์ กาวิละ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเอนไซม์ย่อยสลายลิกนินจากราขาวด้วยวิธีการหาพื้นผิว การตอบสนอง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาวิตรี จันทรานุรักษ์ ;พิลาณี ไวถนอมสัตย์;รัตเขตต์ เชยกลิ่น
ธัญญ์ณภัทร สิงห์นาม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการผลิตเอทานอลจากกิ่งสบู่ดำ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาวิตรี จันทรานุรักษ์;วิทยา ปั้นสุวรรณ;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
เคียวเพชร ลบแย้ม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตไซลิทอลจากไฮโดรไลเสทกิ่งสบู่ดำโดยเทคนิคการระเบิดด้วยไอน้ำ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาวิตรี จันทรานุรักษ์;วิทยา ปั้นสุวรรณ;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
ภาณุ ส้มเกลี้ยง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตไซลิทอลจากไฮโดรไลเสทที่ได้จากการระเบิดต้นหญ้าแฝกด้วยไอน้ำ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาวิตรี จันทรานุรักษ์;วิทยา ปั้นสุวรรณ;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
สุวิชญา รอดกำเนิด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของดินขาวเคโอลินต่อประสิทธิภาพการสังเคราะห์แสงผลผลิตและคุณภาพองุ่น (Vitis vinifera L.) ไร้เมล็ดพันธุ์ Perlette
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณพล จุฑามณี;สุดสวาสดิ์ ดวงศรีไสย์;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
ธีรพัฒน์ เทพแก้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตเอทานอลจากไซเลจหญ้าอาหารสัตว์ 5 ชนิดในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดรุณี ศรีชนะ;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
พนาวัลย์ ธงสันเทียะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตเอทานอลจากวชพืชที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาวิตรี จันทรานุรักษ์;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
ศศิ มงคลชัยอรัญญา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การหาสภาวะที่เหมาะสมของการผลิตเอนไซม์อินูลิเนสและอินเวอร์เทสจากยีสต์ Candida guilliermondii TISTR 5844 และเชื้อรา Aspergillus niger TISTR 3570 และการคัดแปลงพันธุกรรมของยีสต์ Pichia pastoris GS115
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
มลนพรรษ สงค์พิมพ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศักยภาพของแบคทีเรียผลิตเอนไซม์เซลลูเลสเพื่อการผลิตเอทานอลจากวัสดุลิกโนเซซลูโลส
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เพชรดา ปินใจ;พิลาณี ไวถนอมสัตย์
ชนิดาภา ธนะศรีรางกูร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตกรดฟูมาริกและกรดอิตาโคนิคจากทะลายปาล์มน้ำมัน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
;สาวิตรี จันทรานุรักษ์;พิลาณี ไวถนอมสัตย์;อันธิกา บุญแดง
ปณิดา อู่ไทย
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 49
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,373
รวม 3,422 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 92,905 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 92 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 49 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 14 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 14 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 12 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 93,088 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180