แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การออกแบบล้อรันแฟลทสำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
Run-flat wheel design for passenger cars with finite element method

keyword: ล้อรันแฟลท
ThaSH: ยางล้อ
Classification :.DDC: 629.24
; วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
ThaSH: วิศวกรรมย้อนรอย
ThaSH: ไฟไนต์เอลิเมนต์
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบล้อรันแฟลทที่สร้างด้วยอลูมิเนียมสำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคล และวิเคราะห์ความเค้น ความเครียด รวมทั้งการเสียรูปของล้อรันแฟลทและชิ้นส่วนประกอบต่างๆ ล้อรันแฟลทรูปแบบเดิมที่มีขนาด 17 นิ้ว ที่สร้างด้วยวัสดุ AISI 1020 มีน้ำหนัก 11.36 กิโลกรัมต่อวงล้อ ปัญหาสำคัญคือน้ำหนักและการประกอบเข้ากับกระทะล้อไม่แนบสนิทและมีช่องว่าง งานวิจัยนี้จึงต้องเปลี่ยนวัสดุจาก AISI 1020 เป็น Aluminum 6063 T6 การทดลองและการวิเคราะห์ด้วยระเบียบวิธีเชิงตัวเลขโดยการใช้โปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์ถูกนำมาใช้ในงานวิจัยด้วยการเปรียบเทียบค่าความเครียดที่ตำแหน่งต่างๆ ของล้อรันแฟลทและกระทะล้อ ผลลัพธ์จากทั้งสองวิธี แสดงให้เห็นถึงขีดความสามารถของโปรแกรม SolidWorks Simulation ที่ให้ผลลัพธ์สอดคล้องกับการทดลอง โดยมีความแตกต่างของค่าความเครียดร้อยละ 10-16 โมเดลกระทะล้อขนาด 17 นิ้ว ที่มีความซับซ้อนได้รับการสร้างขึ้นด้วยกระบวนการวิศวกรรมย้อนรอยและกระทะล้อถูกนำมาเป็นชิ้นส่วนอ้างอิงสำคัญเพื่อใช้ออกแบบพื้นที่หน้าตัดของวงล้อรันแฟลทใหม่ที่สร้างด้วย Aluminum 6063 T6 โปรแกรม SolidWorks Simulation เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบและวิเคราะห์ความเค้นของล้อรันแฟลทแบบใหม่ที่สร้างด้วยอลูมิเนียมสำหรับกระทะล้อขนาด 17 นิ้ว ไฟไนต์เอลิเมนต์โมเดลของล้อรันแฟลท Aluminum 6063 T6 มีจำนวน 2 ชิ้น และน้ำหนักเบา ความเค้นและการเสียรูปได้รับการพิสูจน์มีค่าไม่เกินค่าความเค้นที่จุดครากอยู่ในช่วงขีดจำกัดยืดหยุ่นเชิงเส้นและมีค่าความปลอดภัย 2-3 เท่า ผลที่ได้คือล้อรันแฟลทจะช่วยให้สามารถขับขี่ต่อไปได้อีก 50 กิโลเมตร ด้วยความเร็ว 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยไม่สูญเสียการควบคุมและช่วยให้สามารถเปลี่ยนยางได้เมื่ออยู่ในสถานที่ที่ปลอดภัย
Abstract: The objective of this research was to design run flat wheels made of aluminum for passenger cars and investigate the stress, strain, and deformation of run flat wheels and their components. The original 17 inch run flat wheels were made of AISI 1020 steel with a weight of 11.3 kg per wheel. The main problems were from the high-level weight as well as the untighten connection, together with noticed gaps taking place between the run flat wheel and the wheel. Therefore, in this study, the AISI 1020 material was changed to the Aluminum 6063 T6 material. The Numerical methodology using the finite element program was also chosen to indicate the comparative differences in the strain values engaged at various locations of both run flat wheels and pan wheels. The results obtained from both approaches using SolidWorks Simulation Program uncovered the consistent results of the experiments with a 10-16% difference in strain values. The complicated 17 inch wheel pan model was next built using reverse engineering and employed as a key reference to design the cross-sectional area of the new run flat wheels made of Aluminum 6063 T6. All these two parts could be connected tightly. The SolidWorks Simulation program was employed to design and examine the strength of both designed aluminum run flat wheels made of aluminum and the wheel pan made of 17 inch aluminum alloy to build passenger cars. The finite element model was furthermore applied for the run flat wheels made of aluminum 6063 T6 and it provided run flat wheels composed of 2 light weighted pieces. The stress, strain, and deformation measured were proven and suggested in the test. The output Von Mises stress did not exceed the Yield stress, within the linear elastic limit and 3 times safety integrity value. The results from the study were that the obtained run flat wheels allowed the driver to continuously drive for a further 50 kilometers at a speed of 50 kilometers per hour without losing control. They allowed possible tire repairing or replacing when situated in a safe and convenient location.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: arit@rmutp.ac.th
Role: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Email : padipan.t@rmutp.ac.th
Role: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
Email : prakorb.c@rmutp.ac.th
Created: 2564
Modified: 2566-03-13
Issued: 2566-03-13
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: วพ 629.24 อ422ก
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 ENG_66_03.pdf 4.81 MB1 2024-02-22 15:48:00
ใช้เวลา
0.025149 วินาที

อลงกต ทะจักร
ปฎิภาณ ถิ่นพระบาท
Title Creator Type and Date Create
การวิเคราะห์พารามิเตอร์ที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการต้านทานของการเจาะทะลุของกระสุนบนผิวเกราะอะลูมิเนียมด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์ ;ปฎิภาณ ถิ่นพระบาท
อนุชา สายเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การออกแบบล้อรันแฟลทสำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ปฎิภาณ ถิ่นพระบาท;ประกอบ ชาติภุกต์
อลงกต ทะจักร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมรรถนะและแก๊สไอเสียของเครื่องยนต์ดีเซลเมื่อใช้น้ำมันไบโอดีเซลผสมก๊าซหุงต้ม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ปฎิภาณ ถิ่นพระบาท;ณทพร จินดาประเสริฐ
นัทที จารุทรัพย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมรรถนะและแก๊สไอเสียของเครื่องยนต์ดีเซลเมื่อใช้น้ำมันยางนาผสมน้ำมันดีเซล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ปฎิภาณ ถิ่นพระบาท;ณทพร จินดาประเสริฐ
นัธบดี นิ่มอนงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ประกอบ ชาติภุกต์
Title Creator Type and Date Create
แผ่นเกราะเซรามิกส์กันกระสุนด้วยวัสดุเชิงประกอบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
ชัยวัฒน์ ไชยมหาพฤกษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ออกแบบและสร้างหุ่นทดสอบการชนของรถจักรยานยนต์ภายใต้สัดส่วนโครงสร้างของคนไทย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
มานัส แดงชาติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์พารามิเตอร์ที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการต้านทานของการเจาะทะลุของกระสุนบนผิวเกราะอะลูมิเนียมด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์ ;ปฎิภาณ ถิ่นพระบาท
อนุชา สายเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบล้อ Run-flat ที่เหมาะสมสำหรับรถยนต์บรรทุกปกติขนาดเล็กติดเกราะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
นุชนาถ ทองใหญ่
วิทยานิพนธ์/Thesis
การออกแบบล้อรันแฟลทสำหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ปฎิภาณ ถิ่นพระบาท;ประกอบ ชาติภุกต์
อลงกต ทะจักร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์มุมเอียงและความหนาของแผ่นเกราะที่มีผลกระทบต่อการต้านทานการเจาะทะลุของกระสุนบนแผ่นเกราะอลูมิเนียมและสแตนเลส ด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ทรงวุฒิ มงคลเลิศมณี;ประกอบ ชาติภุกต์
ไมตรี ถาวรสิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมบัติทางกลของโพลิเอทิลีนน้ำหนักโมเลกุลสูงยิ่งยวดเชิงประกอบสำหรับล้อ Run-flat
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
งามพรรณ ชะโล
วิทยานิพนธ์/Thesis
แผ่นเกราะโลหะกันกระสุน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
วิสา คร้ามอ่ำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาพารามิเตอร์ในการขึ้นรูปแผ่นเกราะเซรามิกส์รูปร่างหกเหลี่ยมกันกระสุน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประเสริฐ วิโรจน์ชีวัน;ประกอบ ชาติภุกต์
ณัฐพงศ์ มีสานุ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์พารามิเตอร์ที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการต้านทานของการเจาะทะลุของกระสุนบนแผ่นเกราะเซรามิกส์ร่วมกับแผ่นเกราะโลหะด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
ธนากร บุญหรั่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ความเค้นและการเสียรูปของแผ่นเกราะโลหะแบบเรียงซ้อนกันโดยใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
มัลลิกา เดชสุภา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจสอบพฤติกรรมของแผ่นเกราะพรุนแบบเรียงซ้อนที่มีความแข็งแรงสูงต่อกระสุนเจาะเกราะ 7.62 โดยใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์ ;ภูภูมิ พ่วงเจริญชัย
กฤษฎา แสงพรายพรรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ผลกระทบของลมจากการเคลื่อนที่ของยานพาหนะที่กระทำต่อป้ายบอกทางจราจร และโครงสร้างเสาบอกทางแบบคร่อมผิวจราจรโดยใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประเสริฐ วิโรจน์ชีวัน;ประกอบ ชาติภุกต์
กัมปนาท เกิดแก่น
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเพิ่มประสิทธิภาพทางไตรโบโลยีของพอลิเอทิลีนน้ำหนักโมเลกุลสูงยิ่งยวดด้วยการผสมโลหะเสริมแรงน้ำหนักเบา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
วิชาญชัย ปลีนารัมย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของอลูมิเนียมออกไซด์ที่ส่งผลต่อสมบัติทางความร้อน ทางกลและไตรโบโลยีของโพลิเอทิลีนน้ำหนักโมเลกุลสูงยิ่งยวด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
พีรศิษฐ์ จุลละโพธิ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ความแข็งแรงและความเสียหายของกันชนรถยนต์ด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์
พีรัชชัย กระจ่างสด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการนำกลับมาใช้ใหม่ของพอลิเอทิลีนน้ำหนักโมเลกุลสูงยิ่งยวดที่ส่งผลต่อสมบัติทางกลและไตรโบโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประกอบ ชาติภุกต์;ทรงวุฒิ มงคลเลิศมณี
รัชพงศ์ กาบจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 7
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,551
รวม 2,558 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 213,218 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 4,791 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 742 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 115 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 46 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 37 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 18 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 10 ครั้ง
รวม 218,977 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.198