แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การใช้สนามไฟฟ้าแรงสูงแบบจังหวะช่วยสกัดโปรตีนจากถั่วเหลือง สำหรับผลิตผงโปรตีน
Pulsed electric field assisted extraction of protein from soybean for production of protein powder

keyword: การสกัด
; สมบัติเชิงหน้าที่
; โปรตีนถั่วเหลือง
; สนามไฟฟ้าแรงสูงแบบจังหวะ
; การทำแห้ง
Abstract: กระบวนการผลิตผงโปรตีนสกัดจากถั่วเหลืองโดยทั่วไปจะมีขั้นตอนหลักอยู่ 2 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนการสกัดโปรตีนและขั้นตอนการทำแห้ง ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กระบวนการสกัดโปรตีนและวิธีการทำแห้งที่เหมาะสมโดยได้แบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ส่วน ในส่วน แรกคือ การศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดโปรตีนจากถั่วเหลืองด้วยสนามไฟฟ้าแรงสูงแบบ จังหวะ โดยจะเริ่มจากการหาเวลาที่เหมาะสมในการสกัดที่แรงดันไฟฟ้า 10.5 11.5 และ 12.5 กิโล โวลต์ซึ่งผลการศึกษาพบว่า เวลาการสกัดที่เหมาะสมในแต่ละแรงดันไฟฟ้าคือ 120 90 และ 60 นาที ตามลำดับ เมื่อพิจารณาจากปริมาณโปรตีนและค่าดัชนีความเสียหายของเยื่อหุ้มเซลล์ที่มีค่าสูงที่สุด จากนั้นทำการศึกษาผลของแรงดันไฟฟ้าที่เวลาการสกัดที่เหมาะสมต่อสมบัติทางกายภาพได้แก่ ค่า ดัชนีความเสียหายของเยื่อหุ้มเซลล์และร้อยละผลผลิตของโปรตีนที่สกัดได้สมบัติทางเคมีได้แก่ ปริมาณโปรตีนที่สกัดได้และรูปแบบของโปรตีน และสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนได้แก่ ความสามารถ ในการละลาย ความสามารถในการอุ้มน้ำ ความสามารถในการเกิดฟองและความคงตัวของฟอง รวมทั้งความสิ้นเปลืองพลังงานจำเพาะในการสกัด โดยผลการศึกษาพบว่า การสกัดโปรตีนที่ แรงดันไฟฟ้า 12.5 กิโลโวลต์เป็นเวลา 60 นาทีมีค่าสมบัติทางกายภาพ ทางเคมีและเชิงหน้าที่ของ โปรตีนดีที่สุด ในขณะที่มีค่าความสิ้นเปลืองพลังงานจำเพาะในการสกัดน้อยที่สุด นอกจากนี้ผลของ รูปแบบโปรตีนซึ่งวิเคราะห์ด้วยเทคนิค SDS-PAGE ยังแสดงให้เห็นว่า โปรตีนที่สกัดได้ที่สภาวะนี้มี โปรตีนกลุ่มเบต้าคอนไกลซินิน (7S) ซึ่งเป็นกลุ่มที่ส่งผลต่อสมบัติเชิงหน้าที่มากที่สุด จากนั้นทำการศึกษาผลของอัตราส่วนของแข็งต่อตัวทำละลายที่ 1:5 1:10 1:15 และ 1:20 โดยมวลต่อปริมาตร โดยควบคุมสภาวะการสกัดที่แรงดันไฟฟ้า 12.5 กิโลโวลต์เป็นเวลา 60 นาทีต่อสมบัติทาง กายภาพ ทางเคมีและเชิงหน้าที่ของโปรตีน โดยผลการศึกษาพบว่า การสกัดโปรตีนในอัตราส่วน ของแข็งต่อตัวทำละลาย 1:15 โดยมวลต่อปริมาตร มีค่าสมบัติทางกายภาพ ทางเคมีและเชิงหน้าที่ ของโปรตีนดีที่สุด ดังนั้นผลการศึกษาในส่วนแรกจึงสามารถสรุปได้ว่า สภาวะที่เหมาะสมในการสกัด โปรตีนจากถั่วเหลืองด้วยสนามไฟฟ้าแรงสูงแบบจังหวะคือ การใช้แรงดันไฟฟ้า 12.5 กิโลโวลต์เป็นเวลา 60 นาทีที่อัตราส่วนของแข็งต่อตัวทำละลาย 1:15 โดยมวลต่อปริมาตร ในการศึกษาส่วนที่สอง คือ การนำโปรตีนที่สกัดได้จากการศึกษาในส่วนที่หนึ่งมาศึกษาผลของวิธีการทำแห้งได้แก่ การทำแห้ง ด้วยตู้อบลมร้อน การทำแห้งแบบสุญญากาศและการทำแห้งแบบพ่นฝอย ต่อสมบัติทางกายภาพได้แก่ ค่าสีความชื้น ค่า aw ขนาดอนุภาค และร้อยละผลผลิตของผงโปรตีน สมบัติทางเคมีได้แก่ ปริมาณ โปรตีนและรูปแบบของโปรตีน และสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนได้แก่ ความสามารถในการละลาย ความสามารถในการอุ้มน้ำ ความสามารถในการเกิดฟองและความคงตัวของฟอง โดยผลการศึกษา พบว่า วิธีการทำแห้งโปรตีนที่เหมาะสมที่สุดคือ การทำแห้งแบบพ่นฝอย เนื่องจากเป็นวิธีการที่ส่งผล ให้ผงโปรตีนที่ได้มีปริมาณโปรตีนและร้อยละผลผลิตสูงที่สุด ขนาดอนุภาคของผงโปรตีนมีความ สม่ำเสมอและขนาดเล็กที่สุด และมีค่าสีความสามารถในการละลาย ความสามารถในการเกิดฟอง และความคงตัวของฟองดีที่สุด ในขณะที่ความสามารถในการอุ้มน้ำมีค่าต่ำที่สุด โดยที่มีความชื้นและ ค่า aw เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อบแห้ง และมีโปรตีนกลุ่มไกลซินิน (11S) และเบต้าคอนไกลซินิน (7S) อยู่มากที่สุด ในการศึกษาส่วนที่สามคือ การเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพได้แก่ ร้อย ละผลผลิตของโปรตีน สมบัติทางเคมีได้แก่ ปริมาณโปรตีน องค์ประกอบทางเคมีโดยประมาณและ รูปแบบของโปรตีน และสมบัติเชิงหน้าที่ได้แก่ความสามารถในการละลาย ความสามารถในการอุ้มน้ำ ความสามารถในการเกิดฟองและความคงตัวของฟอง ของผงโปรตีนที่สกัดด้วยวิธีดั้งเดิมซึ่งใช้สารเคมี และวิธีการใช้สนามไฟฟ้าแรงสูงแบบจังหวะที่สภาวะที่เหมาะสมและผ่านการทำแห้งแบบพ่นฝอย รวมทั้งความสิ้นเปลืองพลังงานจำเพาะในการสกัดทั้งสองวิธีโดยผลการศึกษาพบว่า ผงโปรตีนที่สกัด ด้วยสนามไฟฟ้าแรงสูงแบบจังหวะมีสมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมีที่ดีกว่าโดยที่มีโปรตีนกลุ่มไกล ซินิน (11S) และเบต้าคอนไกลซินิน (7S) มากกว่าและสมบัติเชิงหน้าที่ที่ดีกว่า แต่มีค่าความสิ้นเปลือง พลังงานจำเพาะน้อยกว่าผงโปรตีนที่สกัดด้วยวิธีดั้งเดิม เมื่อพิจารณาจากผลการทดลองทั้งหมด สามารถสรุปได้ว่าการสกัดด้วยสนามไฟฟ้าแรงสูงแบบจังหวะที่แรงดันไฟฟ้า 12.5 กิโลโวลต์เป็นเวลา 60 นาทีโดยใช้อัตราส่วนของแข็งต่อตัวทำละลาย 1:15 โดยมวลต่อปริมาตร ร่วมกับการทำแห้งแบบ พ่นฝอย เป็นกระบวนการที่เหมาะสมที่สุดในการผลิตผงโปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง โดยที่มีสมบัติทาง กายภาพ ทางเคมีและสมบัติเชิงหน้าที่และความสิ้นเปลืองพลังงานจำเพาะดีกว่าการสกัดด้วยวิธีการ ดั้งเดิม
มหาวิทยาลัยแม่โจ้. สำนักหอสมุด
Address: เชียงใหม่
Email: mjudc@mju.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
Created: 2021
Modified: 2023-03-23
Issued: 2566-03-10
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
Th
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยแม่โจ้
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 abstract.pdf 721.82 KB1 2025-01-27 23:40:51
2 fulltext.pdf 7.35 MB4 2025-06-16 10:22:44
ใช้เวลา
0.023371 วินาที

กัญญาวีย์ คันทะมูล
Title Contributor Type
ผลของวิธีการสกัดและทำแห้งต่อสมบัติของโปรตีนผงจากถั่วเหลือง
มหาวิทยาลัยบูรพา
กัญญาวีย์ คันทะมูล;ธีระพล เสนพันธ์;กาญจนา นาคประสม;หยาดฝน ทนงการกิจ

บทความ/Article
การใช้สนามไฟฟ้าแรงสูงแบบจังหวะช่วยสกัดโปรตีนจากถั่วเหลือง สำหรับผลิตผงโปรตีน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กัญญาวีย์ คันทะมูล
หยาดฝน ทนงการกิจ
จตุรภัทร วาฤทธิ์
กาญจนา นาคประสม
วิทยานิพนธ์/Thesis
หยาดฝน ทนงการกิจ
Title Creator Type and Date Create
การสกัดและความคงตัวของผงสีแอนโทไซยานินจากผลหม่อน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กาญจนา นาคประสม;จตุรภัทร วาฤทธิ์;นักรบ นาคประสม;หยาดฝน ทนงการกิจ;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
ศิริลักษณ์ เกิดศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
จลนพลศาสตร์การอบแห้งมะม่วงด้วยสุญญากาศร่วมกับอินฟราเรดไกล
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร;หยาดฝน ทนงการกิจ;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
ชญานิศ รัตนมงคล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการใช้รังสีอินฟราเรดคลื่นยาวเพื่อเพิ่มสารต้านอนุมูลอิสระในใบหม่อนแห้งชงดื่ม
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
หยาดฝน ทนงการกิจ;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร
สุทธิดา กันวะนา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้อัลตร้าโซนิกช่วยสกัดสารออกฤทธิ์ชีวภาพจากกระเทียมเพื่อยับยั้งการเจริญของเชื้อ Escherichia coli
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
หยาดฝน ทนงการกิจ;จตุรภัทร วาฤทธิ์;กาญจนา นาคประสม
สุพิชญ์ชญา กลันทะกะสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากรรมวิธีการผลิตน้ำส้มสายชูบัลซามิกจากเนื้อผลกาแฟด้วยวิธีใหม่
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กาญจนา นาคประสม;นักรบ นาคประสม;หยาดฝน ทนงการกิจ
นฤมล บุญมี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้สนามไฟฟ้าแรงสูงแบบจังหวะช่วยสกัดโปรตีนจากถั่วเหลือง สำหรับผลิตผงโปรตีน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
หยาดฝน ทนงการกิจ;จตุรภัทร วาฤทธิ์;กาญจนา นาคประสม
กัญญาวีย์ คันทะมูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการอบแห้งด้วยระบบปั๊มความร้อน ฮีตเตอร์และผสมผสาน ต่อคุณภาพของใบมะกรูดและความสิ้นเปลืองพลังงาน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
หยาดฝน ทนงการกิจ;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร
ปุณยาพร แสนแปง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เครื่องอบแห้งผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปริญ คงกระพันธ์;นิกราน หอมดวง;หยาดฝน ทนงการกิจ
ยงยุทธ ใต้เงาสน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การออกแบบสร้างและทดสอบระบบอบแห้งแบบผสมผสานเพื่อการประหยัดพลังงาน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปริญ คงกระพันธ์;นิกราน หอมดวง;หยาดฝน ทนงการกิจ
พิบูลย์ สีคำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
จตุรภัทร วาฤทธิ์
Title Creator Type and Date Create
การหาสภาวะที่เหมาะสมของการทำความเย็นด้วยสุญญากาศแบบหลายขั้นตอนสำหรับผักกาดหอมห่อ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร;จตุรภัทร วาฤทธิ์;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
ชยากร เชิงดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบวางแผนความต้องการวัตถุดิบโรงงานผลิตเครื่องนุ่งห่ม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วรพจน์ เสรีรัฐ;อรรถพล สมุทคุปติ์;ศักดิ์เกษม ระมิงค์วงศ์;จตุรภัทร วาฤทธิ์
ภิญโญ วงค์ษา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสกัดสารไฟโคไซยานินจากสาหร่ายสไปรูลิน่าโดยใช้เทคนิคแช่แข็งสลับกับการละลายร่วมกับคลื่นอัลตร้าโซนิค
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร;จตุรภัทร วาฤทธิ์;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
ทิพาพร เรืองยศ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การปรับปรุงกระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ไรส์บรรจุขวดโดยใช้เทคนิคการผลิตแบบลีน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิชัย ฉัตรทินวัฒน์;วัสสนัย วรรธนัจฉริยา;รุ่งฉัตร ชมภูอินไหว;จตุรภัทร วาฤทธิ์
ทัศนาธาร วงค์วาลเรือน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การออกแบบเพื่อปรับปรุงสมรรถนะกังหันน้ำขนาดจิ๋ว สำหรับเฮดต่ำโดยเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ และวิธีพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง;วัสสนัย วรรธนัจฉริยา;เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล;จตุรภัทร วาฤทธิ์
ณรงค์ฤทธิ์ แก้วดวง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์ใช้วิธีการวิวัฒนาการผลต่างสำหรับการวางแผน การจัดวางตู้คอนเทนเนอร์ภายในเรือสินค้า
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วริษา วิสิทธิพานิช;จตุรภัทร วาฤทธิ์;เกรียงไกร อรุโณทยานันท์;คมกฤต เล็กสกุล
ธนวัฒน์ วิเศษสินธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
เทคนิคการลดค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารแช่แข็ง
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร;จตุรภัทร วาฤทธิ์;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
เบญจพร อภิวงค์งาม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากระบวนการกำจัดหนอนแมลงวันในผลพริกด้วยคลื่นไมโครเวฟ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;ณัฎฐ์พัชร เถียรวรกานต์;จตุรภัทร วาฤทธิ์;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
สุภัทรา ใจอุด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลดปริมาณของเสียการคัดบรรจุผักกาดหอมห่อด้วยเทคโนโลยีสะอาดของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;จตุรภัทร วาฤทธิ์;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
ภาวดี วังไชยเลิศ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสกัดสีธรรมชาติจากแก่นฝางโดยเทคนิคไมโครเวฟร่วม
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
นักรบ นาคประสม;จตุรภัทร วาฤทธิ์;กาญจนา นาคประสม;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;หยาดฝน ทรงการกิจ
วรัญญา เฟื่องชุ่ม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบส่งเสริมการปรับปรุงการผลิตและคุณภาพอย่างต่อเนื่องในบริษัทผลิตจักรเย็บผ้าด้วยเทคนิคไคเซ็น
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รุ่งฉัตร ชมภูอินไหว;วัสสนัย วรรธนัจฉริยา;วิชัย ฉัตรทินวัฒน์;จตุรภัทร วาฤทธิ์
บรรพจน์ ต๊ะอ้าย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลดข้อบกพร่องในการผลิตลวดตาข่ายพิเศษด้วยเทคนิคซิกซ์ ซิกมา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อรรถพล สมุทคุปติ์;รุ่งฉัตร ชมภูอินไหว;วิชัย ฉัตรทินวัฒน์;จตุรภัทร วาฤทธิ์
กฤษฎิ์ณิชา วสุรัตนพัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์และการตัดสินใจเลือกแนวทางการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์สาหรับโรงไฟฟ้าถ่านหินลิกไนต์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์;วิชัย ฉัตรทินวัฒน์;เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล;จตุรภัทร วาฤทธิ์
อานุภาพ สุวรรณศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การปรับปรุงกระบวนการรับรองอุปกรณ์เครื่องใช้ภายในเครื่องบินด้วยแนวคิด ลีน ซิกซ์ ซิกมา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อนิรุท ไชยจารุวณิช;วิมลิน เหล่าศิริถาวร;วสวัชร นาคเขียว;จตุรภัทร วาฤทธิ์
ฉันทกานต์ ศรีวิชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การออกแบบใหม่เครือข่ายโซ่อุปทานเพื่อต้นทุนต่ำสุด : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมไก่แช่แข็ง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรกฎ ใยบัวเทศ ทิพยาวงศ์;อภิชาติ โสภาแดง;อรรถพล สมุทคุปติ์;จตุรภัทร วาฤทธิ์
พิชญาวี มณีขัติย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลดตำหนิในกระบวนการผลิตลวดตาข่ายด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและการออกแบบการทดลองเชิงสถิติ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิชัย ฉัตรทินวัฒน์;รุ่งฉัตร ชมภูอินไหว;ชมพูนุท เกษมเสรษฐ์;จตุรภัทร วาฤทธิ์
อารีย์ วิริยพงศานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาตัวแบบเพื่อประเมินและคัดเลือกผู้ส่งมอบวัตถุดิบสำหรับบริษัทผลิตเครื่องประดับที่ใช้ระบบการผลิตแบบลีน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรกฎ ใยบัวเทศ ทิพยาวงศ์;รุ่งฉัตร ชมภูอินไหว;สาลินี สันติธีรากุล;จตุรภัทร วาฤทธิ์
พัชชา มั่งมี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบควบคุมเชิงสถิติแบบอัตโนมัติ ในอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วัสสนัย วรรธนัจฉริยา;รุ่งฉัตร ชมภูอินไหว;วิชัย ฉัตรทินวัฒน์;จตุรภัทร วาฤทธิ์
วรรณวัฒน์ พงษ์ทองหล่อ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสกัดและความคงตัวของผงสีแอนโทไซยานินจากผลหม่อน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กาญจนา นาคประสม;จตุรภัทร วาฤทธิ์;นักรบ นาคประสม;หยาดฝน ทนงการกิจ;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
ศิริลักษณ์ เกิดศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีผลต่อการสกัดสารพอลิแซคคาไรด์จากสาหร่ายเตาโดยใช้คลื่นอัลตร้าโซนิคร่วมกับน้ำร้อน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร;จตุรภัทร วาฤทธิ์;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
วงศ์เทวัญ แสนไชย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการอบแห้งสาหร่ายเตาด้วยลมร้อนร่วมกับรังสีอินฟราเรด
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;จตุรภัทร วาฤทธิ์;ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
เนาวนิตย์ โพธิ์ศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากระบวนการจัดการและการติดตามวัตถุดิบสำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงแบบในบริษัทอุปกรณ์ไฟฟ้าในเครื่องบินพาณิชย์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิมลิน เหล่าศิริถาวร;ชนนาถ กฤตวรกาญจน์;อรรถพล สมุทคุปติ์;จตุรภัทร วาฤทธิ์
ชลธิชา จันทร์เพ็ญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลดต้นทุนโลจิสติกส์ด้วยเทคนิคการบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรมของบริษัทเหมืองแร่หินปูน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรกฎ ใยบัวเทศ ทิพยาวงศ์;อภิชาต โสภาแดง;โพธิ จ้าวไพศาล;จตุรภัทร วาฤทธิ์
ฤทัยภัทร ศุกระศร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์ใช้เทคนิคควิกสแกนในการระบุปัญหาเพื่อเพิ่มผลิตภาพในโรงงานผลิตเครื่องนุ่งห่ม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศักดิ์เกษม ระมิงค์วงศ์ ;ชมพูนุท เกษมเศรษฐ์ ;โพธิ จ้าวไพศาล ;จตุรภัทร วาฤทธิ์
เกสรา วงศ์ไชยะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างต้นแบบการคัดเลือกผลิตภัณฑ์แชมป์เปี้ยนด้วยวิธีลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ความคลุมเครือสำหรับชุมชนต้นแบบบนเส้นทางไลเมค
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วริษา วิสิทธิพานิช;กรกฎ ใยบัวเทศ ทิพยาวงศ์;สาลินี สันติธีรากุล;จตุรภัทร วาฤทธิ์
ภาคินัย ไชยะสุ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์ใช้แบบจำลองสถานการณ์ในการหารูปแบบการเปิดสัญญาณไฟจราจร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คมกฤต เล็กสกุล;ชมพูนุท เกษมเศรษฐ์;จตุรภัทร วาฤทธิ์;อรรถพล สมุทคุปติ์
ขนิษฐา แสงจันทร์ศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาแนวทางเพื่อเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์เนื้อหมูสดและกระบวนการผลิตด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบร่วมและการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นิวิท เจริญใจ;รุ่งฉัตร ชมภูอินไหว;วัสสนัย วรรธนัจฉริยา;จตุรภัทร วาฤทธิ์
นิลมล มหัทธนโชษิต
วิทยานิพนธ์/Thesis
นวัตกรรมกระบวนการการผลิตน้ำมังคุดเพื่อสุขภาพสำหรับตลาดส่งออก
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
จตุรภัทร วาฤทธิ์;ชลินดา อริยเดช;ภูษณิศา เตชเถกิง
เดือนรุ่ง เบญจมาศ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการนวัตกรรมการเกษตร : กรณีศึกษาโรงรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ด้วยระบบบังคับอากาศแนวตั้งกับผลลำไยสด ส่งออกทางภาคเหนือของประเทศไทย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
จตุรภัทร วาฤทธิ์;ไพศาล กาญจนวงศ์;จักรพงษ์ พิมพ์พิมล
Rasiga Sevilai
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้อัลตร้าโซนิกช่วยสกัดสารออกฤทธิ์ชีวภาพจากกระเทียมเพื่อยับยั้งการเจริญของเชื้อ Escherichia coli
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
หยาดฝน ทนงการกิจ;จตุรภัทร วาฤทธิ์;กาญจนา นาคประสม
สุพิชญ์ชญา กลันทะกะสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้วิธีโคพิกเมนเทชั่นในการเพิ่มความคงตัวของรงควัตถุ จากเครื่องดื่มสมุนไพรกระชายดำ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กาญจนา นาคประสม;จตุรภัทร วาฤทธิ์;รัฐพงศ์ ปกแก้ว
ณิชกุล เทียนไทย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้สนามไฟฟ้าแรงสูงแบบจังหวะช่วยสกัดโปรตีนจากถั่วเหลือง สำหรับผลิตผงโปรตีน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
หยาดฝน ทนงการกิจ;จตุรภัทร วาฤทธิ์;กาญจนา นาคประสม
กัญญาวีย์ คันทะมูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากลยุทธ์การวางแผนใช้งานตู้อบแห้งผลิตภัณฑ์เกษตรแบบอุโมงค์สลับทิศทางก๊าซอินฟราเรด - ลมร้อนสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;จตุรภัทร วาฤทธิ์;ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร
พิสินี เสือสืบพันธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กาญจนา นาคประสม
Title Creator Type and Date Create
การหาสภาวะที่เหมาะสมของการใช้ไมโครเวฟร่วมสกัดสารแอนโทไซยานินจากมะเกี๋ยง
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กาญจนา นาคประสม;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;นักรบ นาคประสม;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
อดิศักดิ์ หมื่นเกี๋ยง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสกัดสีธรรมชาติจากแก่นฝางโดยเทคนิคไมโครเวฟร่วม
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
นักรบ นาคประสม;จตุรภัทร วาฤทธิ์;กาญจนา นาคประสม;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ;หยาดฝน ทรงการกิจ
วรัญญา เฟื่องชุ่ม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสกัดและความคงตัวของผงสีแอนโทไซยานินจากผลหม่อน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กาญจนา นาคประสม;จตุรภัทร วาฤทธิ์;นักรบ นาคประสม;หยาดฝน ทนงการกิจ;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
ศิริลักษณ์ เกิดศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเพิ่มปริมาณสตาร์ชต้านทานการย่อยในแป้งมันเทศสีม่วง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กาญจนา นาคประสม;ภัทวรา ปฐมรังษิยังกุล;ศรีสุวรรณ นฤนาทวงศ์สกุล
ธนณัฏฐ์ เสนาวงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้อัลตร้าโซนิกช่วยสกัดสารออกฤทธิ์ชีวภาพจากกระเทียมเพื่อยับยั้งการเจริญของเชื้อ Escherichia coli
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
หยาดฝน ทนงการกิจ;จตุรภัทร วาฤทธิ์;กาญจนา นาคประสม
สุพิชญ์ชญา กลันทะกะสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้วิธีโคพิกเมนเทชั่นในการเพิ่มความคงตัวของรงควัตถุ จากเครื่องดื่มสมุนไพรกระชายดำ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กาญจนา นาคประสม;จตุรภัทร วาฤทธิ์;รัฐพงศ์ ปกแก้ว
ณิชกุล เทียนไทย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากระบวนการแปรรูปผงปลีกล้วยสกัด โดยใช้เทคนิคไมโครเอนแคปซูเลชัน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กาญจนา นาคประสม;ดวงพร อมรเลิศพิศาล;สมเกียรติ จตุรงค์ล้้าเลิศ
สุภิญญา สุยะเหล็ก
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากรรมวิธีการผลิตน้ำส้มสายชูบัลซามิกจากเนื้อผลกาแฟด้วยวิธีใหม่
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กาญจนา นาคประสม;นักรบ นาคประสม;หยาดฝน ทนงการกิจ
นฤมล บุญมี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาสูตรตำรับสมุนไพรอัดเม็ดที่มีการใช้สำหรับการผลิตน้ำนมในมารดาหลังคลอด
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กาญจนา นาคประสม;ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร;สมเกียรติ จตุรงค์ล้ำเลิศ
สิปปกร สวัสดิ์สุขโข
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้สนามไฟฟ้าแรงสูงแบบจังหวะช่วยสกัดโปรตีนจากถั่วเหลือง สำหรับผลิตผงโปรตีน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
หยาดฝน ทนงการกิจ;จตุรภัทร วาฤทธิ์;กาญจนา นาคประสม
กัญญาวีย์ คันทะมูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 24
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,205
รวม 3,229 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 70,042 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 86 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 38 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 11 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 6 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 70,186 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48