แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทุนทางสังคมเพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาชุมชนแพรกบางหมู ตำบลหนามแดง อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา
A Study of Social Capital Change for Strengthening on Sustainable Community: Case Study Park Bang Moo Commuity Tambon NamDaeng Meang Distrist Chachoengsao Province


keyword: ทุนทางสังคม
; ความเข้มแข็งของชุมชน
; การพัฒนาอย่างยั่งยืน
; Social Capital
; Strengthening
; Sustainable Community
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพของทุนทางสังคมของชุมชน 2) ปัจจัยส่งผลตอการเปลี่ยนแปลงทุนทางสังคมเพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืนและ 3) แนวทางการจัดการเพื่อส่งเสริมชุมชนเขมแข็งอย่างยั่งยืนของชุมชนแพรกบางหมูจังหวัดฉะเชิงเทราเป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธีการ วิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 192 คน ที่เป็นสมาชิกภายในชุมชนแพรกบางหมู ตำบลหนามแดง อำเภอเมือง จังหวดฉะเชิงเทรา ที่กำหนดขนาดตัวอย่างตามแนวปฏิบัติของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie, R. V. and Morgan, D. W., 1970) และกลุ่มที่สัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 12 คน จากการใช้กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึก ในชุมชนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพของทุนทางสังคมของชมชนโดยรวมมีค่าเฉลยในระดับสูง ( = 3.89, S.D. = 0.71) และเมื่อพิจารณารายด้านก็มีค่าเฉลี่ยในระดับสูงทุกด้าน 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทุนทางสังคมเพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็งของชุมชนบางแพรกหมู (Y) ได้แก่ ทุนทรัพยากรธรรมชาติ ( = 0.529**) ทุนภูมิปัญญาและวัฒนธรรม( = 0.385**) ทุนสถาบัน ( = 0.255**) และทุนมนุษย์ ( = 0.232**) ซึ่งส่งผลทางบวกต่อความเข้มแข็งของชุมชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยที่ปัจจัยทั้ง 4 ประการ สามารถรวมอธิบายการเปลี่ยนแปลงทุนทางสังคมเพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนของชุมชนบางแพรกหมูได้ร้อยละ 98.01 (R2= 0.9801) และ 3) แนวทางการจัดการเพื่อส่งเสริมชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนของชุมชนแพรกบางหมูที่สำคัญ ๆ เป็นดังนี้ด้านทุนมนุษย์คือ การร่วมปรึกษาหารือในการแก้ไขปัญหาตั้งแต่การร่วมคิดร่วมทำอย่างต่อเนื่องโดยมีค่านิยมร่วมคือ การยกระดับคุณภาพชีวิตภายในชุมชนด้านทุนสถาบัน คือ การรวมกลุ่มกันเพื่อการให้คำปรึกษาช่วยเหลือและกำหนดแนวทางนโยบายความเป็นอยู่ร่วมกันและเปิดโอกาสให้ทุกคนในชุมขนได้มีส่วนร่วมโดยเฉพาะเรื่องของการประกอบอาชีพแบบพึ่งตนเอง เช่น กลุ่มจัดการกองทุนหมู่บ้านกองทุนสงเคราะห์ฌาปนกิจสหกรณ์โรงสีชุมชมของคนภายในชุมชน เป็นต้น ทุนภูมิปัญญาและวัฒนธรรม คือการจัดกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์เครือญาติที่สืบสานวัฒนธรรมและประเพณีไทยอย่างต่อเนื่อง เช่น กิจกรรมงานประเพณีสงกรานต์ไทยที่ลูกหลานกลับมาแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณและผู้สูงอายุในชุมชน เป็นต้น และทุนทรพยากรธรรมชาติ คือ การบริหารจัดการและร่วมกันอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การจัดตั้งกลุ่มจิตอาสาของชุมชนร่วมกันรักษาทำความสะอาดแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคและดูแลเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
Abstract: This research aimed to study 1) the situations of social capital, 2) the factors affecting the social capital change for strengthening on sustainable community and, 3) guidelines of management for strengthening on sustainable community. The approaches of this research were mixed methods of quantitative and qualitative researches. The quantitative research was conducted by studying the sample of 192 respondents of the sample size determination with (Krejcie, R. V. and Morgan, D. W., 1970) and 12 key informants of purposive selection. Data collection tools included questionnaire and interviews. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and multiple regressions with stepwise method. The research found that: 1) the situations of social capital of Park Bang Moo Community Tambon NamDaeng, Meang District, Chachoengsao Province was at a high level ( = 3.89, S.D. = 0.71) 2) the factors affecting the social capital change for strengthening on sustainable community that Natural resources and environment capital ( = 0.529**), Cultural and wisdom capitals ( = 0.385**), Institution capital ( = 0.255**) and human capital ( = 0.232**) contributed statistically and positively to the community strength at significant level of 0.01. These four factors were predictive the social capital change at 98.01 % (R2 = 0.9801) and, 3) guidelines of management for strengthening on sustainable community, in terms of human capital that leaders of community discuss problems collaborative thinking solutions to enhance quality of life in the community. Institution capital was grouping to provide advice and set policy for the co-existence of all people in the community to participate, especially in the fi eld of traditional occupations self-sufficient, such as the village fund, cremation association fund, and cooperation group of rice mill community. Cultural and wisdom capitalswas the need of activities to relation of family that continually hold on Thai culture as Thai Songkran Festival that the descendants to keep respect of the ancestors. Natural resources and environment capital was management and joint conservation of natural resources. Establish a community volunteer group to maintain and clean water sources for consumption.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: นครราชสีมา
Email: kitiya.ni@rmuti.ac.th
Created: 2564
Modified: 2566-02-10
Issued: 2566-02-10
บทความ/Article
application/pdf
RMUTI JOURNAL Humanities and Social Sciences Vol. 8, No. 2, July - December 2021
ISSN 2672-9342 (Online)
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 RMUTI_Yupawadee_Art66-21.pdf 11.53 MB18 2025-07-11 19:06:08
ใช้เวลา
0.018866 วินาที

ออมวจี พิบูลย์
Title Contributor Type
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทุนทางสังคมเพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาชุมชนแพรกบางหมู ตำบลหนามแดง อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน
ออมวจี พิบูลย์ ออมวจี พิบูลย์1* และวิไลวรรณ วงศ์จินดา ;วิไลวรรณ วงศ์จินดา

บทความ/Article
วิไลวรรณ วงศ์จินดา
Title Contributor Type
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาภาษาญี่ปุ่นเรื่องคำและสำนวนการสนทนาในชีวิตประจำวัน
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วิไลวรรณ วงศ์จินดา.
เลิศลักษณ์ กลิ่นหอม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทุนทางสังคมเพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาชุมชนแพรกบางหมู ตำบลหนามแดง อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน
ออมวจี พิบูลย์ ออมวจี พิบูลย์1* และวิไลวรรณ วงศ์จินดา ;วิไลวรรณ วงศ์จินดา

บทความ/Article
หน่วยวิจัยระบบอัจฉริยะและการแปลงผันพลังงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
พีรพล จันทร์หอม;วิไลวรรณ วงศ์จินดา;พัฒนพงษ์ สินธุ์ไพฑูรย์;ภีรศักดิ์ เผ่าผาง;วิภาดา วงศ์สุริยา;ยุราพร ผดุงกรรณ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
งานวิจัย/Research report
แพลตฟอร์มการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21 กลุ่มสาขาวิชาทางการศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
วิไลวรรณ วงศ์จินดา;สุวิมล พิบูลย์;อนันท์ คัมภิรานนท์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
งานวิจัย/Research report
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 30
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,513
รวม 2,543 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 100,789 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 114 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 110 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 22 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 20 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 14 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 101,072 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180