แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การลดของเสียในกระบวนการผลิตกล่องกระดาษด้วยใช้เทคนิคการออกแบบการทดลอง
Defective Reduction in Carton Box Manufacturing Using Design of Experiment (DOE)

Address: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Organization : คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
Email : kaona_j@rmutt.ac.th

Address: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Organization : คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

Address: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Organization : คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

Address: สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
Organization : คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต
keyword: กล่องกระดาษลูกฟูก
; กระดาษกรอบ
; การทดลอง
; แบบพื้นผิวตอบสนอง
; Carton box
; Brittle paper
; Response Surface Experiment
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิตกล่องกระดาษลูกฟูก โดยใช้หลักเทคนิควิศวกรรมอุตสาหการในการวิเคราะห์หาสาเหตุและปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายของกล่องกระดาษลูกฟูก และใช้การทดลองพื้นผิวตอบสนอง เพื่อทดลองหาปัจจัยที่มีผลต่อของเสียประเภทกระดาษกรอบที่เป็นประเภทของเสียที่สูงที่สุด โดยกำหนดค่าทั้ง 3 ปัจจัยในการตั้งค่าของเครื่อง Corrugator คือ (1) ความเร็วเครื่องจักร ที่ช่วง 170 - 190 เมตรต่อนาที (2) ระยะห่างช่องว่างกาว ที่ช่วง 370 - 400 ไมครอน และ (3) กาวที่เครื่องจักร ที่ช่วง 380 - 390 ไมครอน ที่ระดับนัยสําคัญที่ 0.05 ผลการวิเคราะห์พบว่าปัจจัยที่ผลต่อปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นที่แผนกผลิตกระดาษลูกฟูก ได้แก่ ความเร็วและระยะห่างช่องวางกาว โดยมีระดับที่เหมาะสมในการตั้งค่าเครื่อง Corrugator ในการผลิตกระดาษลูกฟูก คือ ความเร็วเครื่องจักรที่ 190 เมตรต่อนาที, ระยะห่างช่องว่างกาวที่ 393 ไมครอน และกาวที่เครื่องจักรที่ 385 ไมครอน จะสามารถให้ค่าความต้านทานแรงดันทะลุ สูงสุดเท่ากับ 103.27 kg.f/cm2 และสามารถลดปริมาณของเสียประเภทกระดาษกรอบ จากเดิมก่อนการปรับปรุงเฉลี่ยร้อยละ 5.86 และผลการปรับปรุง ด้วยการใช้เทคนิคการทดลองพื้นผิวตอบสนอง แบบ Box-Behnken พบว่าของเสียประเภทกระดาษกรอบทําให้ของเสียดังกล่าวลดเหลือร้อยละ 1.83 ดังนั้นทําให้ภาพรวมของปริมาณของเสียในช่วงก่อนปรับปรุงเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 7.33 ซึ่งการลดของเสียประเภทกระดาษกรอบทําให้ของเสียในภาพรวม ลดลงเหลือร้อยละ 3.28 ซึ่งทําให้บริษัทกรณีศึกษาจึงสามารถควบคุมปริมาณของเสียที่ไม่ให้เกินเกณฑ์ร้อยละ 4.5 ตามที่กำหนดไว้
Abstract: This research aimed to reduce the defective form carton box process using industry engineering technique for categorizing the potential causes of a problem to obtain defective in the carton box process. Response Surface Experiment was used to design the experiment by three factors consisting of 1) Speed machine at 170-190 m/min, 2) Glue gap at 370-400 micron, and 3) Glue Machine at 380-390 microns with significance at 0.05. The summarized results were suitable parameters for setting up the machine in producing carton box where the speed at 190 meters/ minute, the glue gap at 390 microns, and the glue Machine at 385 effects to highly compressive force at 103.27 kg. f/cm2 and reduce defective brittle paper. The before improvement result shows a defective ratio average of 5.86%, and after improvement using Response Surface Experiment (Box-Behnken) result shows a defective ratio average of 1.83 %. So, the summarized results were as follows before improving the total monthly defective ratio average of 7.33%. The brittle paper was mostly defective to reduce after improvement. The total defective (Monthly) ratio was also reduced by 3.28%, and the manufacturer can do meet the target that the Total monthly defective ratio average of less than 4.5%.
Patumwan Institute of Technology. Library
Address: BANGKOK
Email: somsuay12@hotmail.com
Created: 2565
Modified: 2565-12-20
Issued: 2565-12-20
BibliograpyCitation : Pathumwan Academic Journal. Vol. 12, No. 33, (January - April 2022), p 41 -55.
tha
©copyrights
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.015876 วินาที

เฉลิมศักดิ์ ถาวรวัตร์
Title Contributor Type
การปรับปรุงการจัดการวัสดุคงคลัง กรณีศึกษาระบบการผลิตแบบตามสั่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เฉลิมศักดิ์ ถาวรวัตร์;ระพี กาญจนะ

บทความ/Article
การปรับปรุงการจัดการวัสดุคงคลัง กรณีศึกษาระบบการผลิตแบบตามสั่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เฉลิมศักดิ์ ถาวรวัตร์
ระพี กาญจนะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของขนาดพื้นที่สัมผัสขอบคมตัดเม็ดมีด CBN ที่มีผลต่อความหยาบผิว ในการกลึงเหล็ก AISI 1050
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
มนัส ศรีสวัสดิ์;เฉลิมศักดิ์ ถาวรวัตร์;อรรถกร จันทร์ชนะ

บทความ/Article
การลดเวลาการเปลี่ยนรุ่นผลิตภัณฑ์ด้วยเทคนิค SMED กรณีศึกษาบริษัทผู้ผลิตเครื่องดื่มชนิดผงแบบซอง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เฉลิมศักดิ์ ถาวรวัตร์;ศรีไร จารุภิญโญ

บทความ/Article
การลดของเสียในกระบวนการผลิตกล่องกระดาษด้วยใช้เทคนิคการออกแบบการทดลอง
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
เฉลิมศักดิ์ ถาวรวัตร์;ก้าวหน้า จงวัฒนารักษ์;ระพี กาญจนะ;ฤทธิชัย สังฆทิพย์

บทความ/Article
ก้าวหน้า จงวัฒนารักษ์
Title Contributor Type
การลดของเสียในกระบวนการผลิตกล่องกระดาษด้วยใช้เทคนิคการออกแบบการทดลอง
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
เฉลิมศักดิ์ ถาวรวัตร์;ก้าวหน้า จงวัฒนารักษ์;ระพี กาญจนะ;ฤทธิชัย สังฆทิพย์

บทความ/Article
ระพี กาญจนะ
Title Contributor Type
ฤทธิชัย สังฆทิพย์
Title Contributor Type
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,180
รวม 2,180 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.149