แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การสานพลังภาคีเครือข่ายสร้างนวัตกรรม พัฒนาการอ่านออกเขียนได้เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาวะ
The strengthening the network of innovation Literacy development to enhance the health Literacy

keyword: นวัตกรรม
Othors: innovative media
; การอ่านออกเขียนได้
Othors: Literacy
; ความรอบรู้สุขภาวะ
Othors: Health literacy
; การสานพลังภาคีเครือข่าย
Othors: strengthening network partners
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาสถานภาพ ศักยภาพและความต้องการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของโรงเรียน 2) พัฒนาเครื่องมือ คู่มือการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาวะผ่านการพัฒนาความสามารถด้านภาษาสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา 3) พัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับความต้องการของพื้นที่ 4) พัฒนาระบบ กลไกการขับเคลื่อนระดับเครือข่ายโดยโรงเรียนเป้าหมายที่สามารถยกระดับเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่ กลุ่มเป้าหมายเป็นโรงเรียนในจังหวัดน่าน 6 โรงเรียน แพร่ 15 โรงเรียน และอุตรดิตถ์ 6 โรงเรียน รวม 27 โรงเรียน โดยใช้แนวคิดการวิจัยพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสำรวจสภาพปัญหาและความต้องการพัฒนาอ่านออกเขียนได้ของโรงเรียน แบบรายงานการผลิต/สร้าง นวัตกรรม พัฒนาการอ่านออกเขียนได้ส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาวะ และแบบประเมินผลการใช้สื่อ นวัตกรรมพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาวะ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มเป้าหมายจำนวน 27 โรงเรียน มีนักเรียนรวมทั้งสิ้น 2,627 คน ก่อนเริ่มโครงการมีนักเรียนอ่านออกเขียนได้ คิดเป็นร้อยละ 78.97 หลังเข้าร่วมโครงการมีนักเรียนอ่านออกเขียนได้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 87.64 2) การสร้างนวัตกรรมพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ ส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาวะ กลุ่มเป้าหมายผลิตนวัตกรรมประเภทนิทานเล่มเล็กมากที่สุด รองลงมาได้แก่ หนังสือเล่มเล็กและหนังสือทำมือ/ป๊อปอัพ ตามลำดับ 3) การใช้นวัตกรรมของกลุ่มเป้าหมายใช้ใน 3 รูปแบบ คือ ใช้ในโรงเรียน ใช้ในครอบครัว และใช้ในชุมชน ส่วนนวัตกรรมที่ได้รับความนิยมสูงสุดจากนักเรียน ได้แก่นิทานเล่มเล็ก รองลงมาได้แก่ หนังสือป๊อปอัพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 4) ระบบ กลไก การขับเคลื่อนระดับเครือข่ายในกลุ่มเป้าหมายมีเครือข่ายหลัก ได้แก่ โรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และมหาวิทยาลัย
Abstract: This research is intended to 1) Study the status, potential and needs school literacy development 2) Develop tools for managing learning and assessing literacy skills 3) Develop effective and appropiated learning management innovation 4) Develop a network-driven mechanism system by the target schools, can upgrade to a learning center. Target schools are schools in Nan province, 6, Phrae 15 and Uttaradit 6, including 27 schools. By using the research concept of University engagement. The tools used are survey forms, problems and needs for school read-out development, Report form for production of innovative develop of literacy, promote healthliteracy and evaluation form using innovative to develop literacy skills, promote health literacy. Data analysis used content analysis and statistics are frequency and percentage . The research found that 1) The target group of 27 schools with a total of 2,627 students. Before starting the project, 78.94 percent of the students were able to read and write, after joining the project, the number of students reading increased by 87.64 percent. 2) Creatinginnovativedeveloping literacy, promoting health literacy target schools produce the most tales booklets, followed by hand made book/pop-up. 3) Using innovative of school used, used in family and used in communities the most popular innovative from students, are stories booklets, produce the most tales, followed by pop–up and electronics media. 4) The network-driven mechanism in the schools target group has the main network namely the schools, parents,communities, and the University.
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. ศูนย์วิทยบริการ.
Address: บุรีรัมย์
Email: library@bru.ac.th
Created: 2562
Modified: 2565-11-11
Issued: 2565-11-05
บทความ/Article
application/pdf
BibliograpyCitation : วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์, ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2562) : หน้า 137-147
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 3533.pdf 1.65 MB36 2025-06-03 15:54:28
ใช้เวลา
0.015922 วินาที

วจี ปัญญาใส
Title Contributor Type
การพัฒนาโปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อเพิ่มพูนระดับความสามารถในการเผชิญปัญหาของวัยรุ่น
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วจี ปัญญาใส
ศิริบูรณ์ สายโกสุม
ระพินทร์ โพธิ์ศรี
ทิพยวรรณ กิตติพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการบริการให้คำปรึกษาด้านการศึกษาและอาชีพ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดอุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยนเรศวร
วจี ปัญญาใส
สมพงษ์ มั่นระวัง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาแบบทดสอบทางจิตวิทยาเพื่อใช้ในการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนวในโรงเรียน
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
บุญมั่น ธนาศุภวัฒน์;สุมิตรา โรจนนิติ;วจี ปัญญาใส

งานวิจัย/Research report
สอนอย่างไร ให้เด็กคิดสร้างสรรค์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
วจี ปัญญาใส
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
บทความ/Article
เทคนิคและวิธีการส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
วจี ปัญญาใส

บทความ/Article
การพัฒนาโปรแกรมการปรึกษากลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะผู้ให้คำปรึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วจี ปัญญาใส
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
บทความ/Article
รูปแบบการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วจี ปัญญาใส
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
บทความ/Article
การพัฒนาทักษะการให้คำปรึกษากลุ่มของครูในโรงเรียนโครงการกองทุนการศึกษา จังหวัดอุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
วจี ปัญญาใส

งานวิจัย/Research report
การสานพลังภาคีเครือข่ายสร้างนวัตกรรม พัฒนาการอ่านออกเขียนได้เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาวะ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
วจี ปัญญาใส

บทความ/Article
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 54
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,352
รวม 2,406 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 104,129 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 149 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 145 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 32 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 21 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 15 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 104,495 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180