แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการสร้างเอกลักษณ์สินค้าเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนกลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโพนก่อ ตำบลท่าก้อน อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
Guidelines for Developing the Capacity to Create Product Identity for Sustainable Strengthening of Indigo Dyed Cotton Weaving Group in Baan Phonkoe Thakon Sub-district, Akat Amnuai District, Sakon Nakon Province



keyword: การพัฒนาศักยภาพชุมชน
Othors: Community’s Capacity Development
; เอกลักษณ์สินค้า
Othors: Product Identity
; ความเข้มแข็งของชุมชน
Othors: Strength of the Community
Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพื่อศึกษาบริบทของกลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโพนก่อ ศักยภาพด้านการสร้างเอกลักษณ์สินค้า และวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาศักยภาพในสร้างเอกลักษณ์ของสินค้า เพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 20 คน ที่ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง ใช้การสนทนากลุ่ม การสังเกต และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก พบว่า บริบทของกลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโพนก่อ เป็นกลุ่มองค์กรในชุมชนที่มีจำนวน 15 กลุ่ม อาทิ กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ วัดส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มเกษตรพอเพียงลดรายจ่าย เพิ่มรายได้เป็นแหล่งเรียนรู้การทำการเกษตรแบบพอเพียงของชุมชน มีจัดการตนเองด้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเช่น กลุ่มการจัดการขยะในชุมชน กลุ่มการจัดการเรื่องปัญหายาเสพติดภายในหมู่บ้าน และกองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์หมู่บ้าน และการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของชุมชน อาทิ กลุ่มผลิตปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ กลุ่มเพาะเห็ด กลุ่มทอผ้าย้อมคราม สำหรับศักยภาพด้านการสร้างเอกลักษณ์สินค้า พบว่า การพัฒนาเอกลักษณ์สินค้ามีความต้องการในการสร้างเอกลักษณ์สินค้าที่เป็นของกลุ่มเอง ในการสร้างเอกลักษณ์ต้องได้มาซึ่งการมีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมปฏิบัติ และต้องเป็นเอกลักษณ์ที่ได้มาจากประวัติของหมู่บ้าน ในกระบวนการพัฒนาเอกลักษณ์สมาชิกทุกคนได้ร่วมกันคิด และเล่าถึงเรื่องราวความเป็นมาของหมู่บ้าน “บ้านโพนก่อ” เพื่อหา เอกลักษณ์ที่นำมาทอเป็นลายผ้าต้องมีความสำคัญและสอดคล้องกับชื่อหมู่บ้าน สมาชิกมีการร่วมกันเสนอชื่อลายผ้าที่จะนำมาทอเป็นเอกลักษณ์ของกลุ่ม สรุปชื่อลายผ้าใหม่ เรียกว่า “ลายหมากก่อ” ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผ้าทอชุมชนได้
Abstract: This research was a participatory action research aimed 1) to examine the context and potential to create product identity of Indigo Dyed Cotton Weaving Group in Baan Phonkoe; and 2) to analyze guidelines for developing the capacity to create product identity in order to establish sustainable strength. The data were collected from 20 members of community enterprise group selected by purposive sampling. Focus group, observation and in-depth interview were applied to collect the data. The results suggested that the context of Indigo Dyed Cotton Weaving Group in Baan Phonkoe was in a community enterprise group which was divided into 15 subgroups, such as Cremation Aid Group, Health Promotion Temple, and Sufficiency Agricultural Group to reduceexpenses-increase income which was a learning resource for sufficiency agriculture of the community. This Sufficiency Agricultural Group was managed in several aspects to be a model in sufficiency economy such as, Community’s Waste Management Group, Community’s Drug Abuse Management Group and Village Cremation Fund. Moreover, community’s innovations were also created and developed, such as Fertilizer Production Group, bio-fermented water, MushroomFarming Group, and Indigo Dyed Cotton Weaving Group. In terms of capacity to create product identity, it was found that the group needed to create their own product identity which should be generated from collaboration among the group members and should also be created according to the history of the village. In addition, in the process of creating the identity, every memberbrainstormed and told a story of “Baan Phonkoe” village in order to figure out the identity of the product to create the pattern which was meaningful and relevant to the village’s name. As a result, the members decided to name the new pattern as “Mark Koe” which can help increase the value of community’s woven cloth.
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. ศูนย์วิทยบริการ.
Address: บุรีรัมย์
Email: library@bru.ac.th
Created: 2562
Modified: 2565-11-11
Issued: 2565-11-04
บทความ/Article
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 3506.pdf 2.6 MB11 2024-08-03 12:59:54
ใช้เวลา
0.019421 วินาที

ผกามาศ บุตรสาลี
Title Contributor Type
อิทธิพลของประสิทธิภาพทุนทางปัญญา การกำกับดูแลกิจการและความได้เปรียบทางการแข่งขันที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ผกามาศ บุตรสาลี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์ใช้เปลือกแตงโมเพิ่มมูลค่าการตลาดของกลุ่มผู้ปลูกแตงโมชุมชนบ้านโคกเมือง ตําบลจรเข้มาก อําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ผกามาศ บุตรสาลี ;ทิพย์สุดา ทาสีดํา;อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา;ธัญรัศม์ ยุทธสารเสนีย์;จตุพัฒน์ สมัปปิโต

บทความ/Article
ทุนทางปัญญาเครื่องมือวัดมูลค่ากิจการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ผกามาศ บุตรสาลี;ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์

บทความ/Article
แนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืนของชุมชนในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ผกามาศ บุตรสาลี;สุพัตรา รักการศิลป์;เอมอร แสวงวโรตม์

บทความ/Article
แนวทางการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืนของกลุ่มเพาะเห็ดบ้านโพธิ์ชัย ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
สุพัตรา รักการศิลป์ ;ผกามาศ บุตรสาลี;เอมอร แสวงวโรตม์;แก้วมณี อุทิรัมย์;อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา;อัญญา มธุรเมธา

บทความ/Article
ความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
สุพัตรา รักการศิลป์;เอมอร แสวงวโรตม์;ผกามาศ บุตรสาลี

บทความ/Article
แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการสร้างเอกลักษณ์สินค้าเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนกลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโพนก่อ ตำบลท่าก้อน อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ผกามาศ บุตรสาลี;แก้วมณี อุทิรัมย์;ดร.อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา

บทความ/Article
การเพิ่มมูลค่าและพัฒนารูปแบบช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าของกลุ่มโรงสีข้าวบ้านหัวดง ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ผกามาศ บุตรสาลี

บทความ/Article
เครื่องมือวัดผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ผกามาศ บุตรสาลี;ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์

บทความ/Article
การสร้างมูลค่าและคุณค่าของเศษวัสดุจากป่าชุมชนตำบลโคกกลาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ธัญรัศม์ ยุทธสารเสนีย์;สรรเพชร เพียรจัด;อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา;ผกามาศ บุตรสาลี;จารินี ม้าแก้ว

บทความ/Article
แก้วมณี อุทิรัมย์
Title Contributor Type
คุณภาพบัณฑิตสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
สุพัตรา รักการศิลป์;เอมอร แสวงวโรตม์;ฐิติพร วรฤทธิ์;ผกามาศ มูลวันดี;แก้วมณี อุทิรัมย์;ทิพย์สุดา ทาสีดำ

บทความ/Article
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการทอผ้าไหมมัดหมี่ตีนแดง ตำบลนาโพธิ์ อำเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
แก้วมณี อุทิรัมย์;จริญญา สันฐิติธนาวัฒน์;นํ้าอ้อย จันทะนาม;แพรววิภา นิลแก้ว;สุภาภรณ์ แสนทุนท้าว

บทความ/Article
รูปแบบช่องทางการจัดจําหน่ายสินค้าของกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก บ้านขุมดิน ตําบลนํ้ำใส อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
แก้วมณี อุทิรัมย์;สายฝน อุไร;อุดมพงศ์ เกศศรีพงษ์ศา

บทความ/Article
ความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาการบัญชีที่มีต่อหลักสูตรบัญชีบัณฑิตสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ประจําปีการศึกษา 2558
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
สุพัตรา รักการศิลป์;อมอร แสวงวโรตม์;ผกามาศ มูลวันดี;ฐิติพร วรฤทธิ์;แก้วมณี อุทิรัมย์;ทิพย์สุดา ทาสีดํา

บทความ/Article
แนวทางการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืนของกลุ่มเพาะเห็ดบ้านโพธิ์ชัย ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
สุพัตรา รักการศิลป์ ;ผกามาศ บุตรสาลี;เอมอร แสวงวโรตม์;แก้วมณี อุทิรัมย์;อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา;อัญญา มธุรเมธา

บทความ/Article
แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการสร้างเอกลักษณ์สินค้าเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนกลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโพนก่อ ตำบลท่าก้อน อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ผกามาศ บุตรสาลี;แก้วมณี อุทิรัมย์;ดร.อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา

บทความ/Article
การวิเคราะห์ต้นทุนฐานกิจกรรมของกลุ่มอาชีพทอผ้าไหมในเขตพื้นที่อําเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
แก้วมณี อุทิรัมย์;ฐิติพร วรฤทธิ์;สายฝน อุไร

บทความ/Article
ดร.อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 58
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,368
รวม 2,426 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 102,110 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 135 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 130 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 25 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 20 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 14 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 102,438 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180