แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Potential of bouea macrophylla kernel extract against multispecies bacterial-fungal biofilm
ศักยภาพของสารสกัดจากเมล็ดมะปรางในการกำจัดแผ่นชีวภาพผสมระหว่างเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา

ThaSH: Fungi
ThaSH: Bacteria
ThaSH: Dentistry
Abstract: To determine the antimicrobial activity of B. macrophylla kernel extract in eradication of the multispecies biofilm of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans in in vitro and in ex vivo tooth model. Methods: Firstly, antimicrobial effect of B. macrophylla kernel extract to multispecies biofilm of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans was determined by AlamarBlueTM assay and The LIVE/DEAD® BacLightTM viability test. Then, multispecies biofilm of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans (1:1:1) were inoculated in tooth model for 21 days and the teeth were randomly divided into 4 medicament groups: (i) normal saline, (ii) calcium hydroxide (Ca(OH)2), (iii) chlorhexidine gel, (iv) B. macrophylla kernel extract. The teeth were medicated for 7 days, then dentin sample were harvested and the efficacy of medicament was determined by qPCR with PMA for quantify composition of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans. Scanning electron microscope (SEM) was used to visualize the effect of medicament on biofilm structure. Results: The in vitro assay revealed that the MBIC was 6.25 mg/mL and the MBEC was 50 mg/mL. The integrity of microbial cells was progressively compromised as concentration increased, resulting in greater cell death. Ex vivo tooth model revealed that biofilm treated with 50 mg/mL of the B. macrophylla extract demonstrated a significantly higher proportions of dead cells than in Ca(OH)2 , chlorhexidine and normal saline groups (p<0.01). Further, disruption of biofilm structure and enlargement of dentinal tubules was observed in B. macrophylla group on SEM.
Abstract: เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดเมล็ดมะปรางในการกำจัดเชื้อ Enterococcus faecalis Streptococcus gordonii และ Candida albicans ที่อยู่ในรูปแบบแผ่นชีวภาพ วัสดุและวิธีการ: ทำการศึกษาประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อของสารสกัดเมล็ดมะปรางต่อแผ่นชีว-ภาพผสมระหว่าง E. faecalis S. gordonii และ C. albicans ในห้องปฏิบัติการโดยใช้วิธี AlamarBlueTM จากนั้นทำการทดลองโดยใช้สารสกัดเมล็ดมะปรางในชิ้นรากฟันที่เตรียมจากฟันกรามน้อยล่างที่เพาะ เลี้ยงแผ่นชีวภาพระหว่าง E. faecalis S. gordonii และ C. albicans เป็นเวลา 21 วัน โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยน้ำเกลือ กลุ่มที่ 2 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (UltraCalTM) กลุ่มที่ 3 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยคลอเซกซิดีนเจล และกลุ่มที่ 4 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยสารสกัดเมล็ดมะปราง โดยยาจะถูกใส่เป็นเวลา 7 วัน จากนั้นผงฟันจะถูกเก็บ และทำการทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อทั้งสามชนิดในรูปแบบแผ่นชีวภาพ ด้วยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสแบบเรียลไทม์ (quantitative polymerase chain reaction ; qPCR) ร่วมกับการใช้สารโพพิเดียม โมโนเอไซด์ (Propidium monoazide ; PMA) เพื่อวิเคราะห์แยกแยะปริมาณเชื้อที่หลงเหลืออยู่ ผลการศึกษา: สารสกัดเมล็ดมะปรางให้ผลค่าความเข้มข้นต่ำสุดในการยับยั้งการเจริญของแผ่นชีวภาพที่ร้อยละ 50 ที่ความเข้มข้น 6.25 มก/มล และค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ฆ่าแผ่นชีวภาพที่ความเข้มข้น 50 มก/มล และเมื่อทำการทดสอบในชิ้นรากฟันที่บรรจุแผ่นชีวภาพอายุ 21 วันนั้น สารสกัดเมล็ดมะปรางความเข้มข้น 50 มก/มล มีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อ E. faecalis S. gordonii และ C. albicans อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มคลอเฮกซิดีนเจล และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (p<0.01) สรุปผลการศึกษา: สารสกัดเมล็ดมะปรางมีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อ E. faecalis, S. gordonii และ C. albicans ที่อยู่ในรูปแบบแผ่นชีวภาพ
Chiang Mai University. Library
Address: CHIANG MAI
Email: cmulibref@cmu.ac.th
Role: Chairman
Role: Member
Role: Member
Created: 2022
Modified: 2022-10-30
Issued: 2022-10-30
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
eng
DegreeName: Science
Descipline: Dentistry
©copyrights Chiang Mai University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 620931036.pdf 13.89 MB
ใช้เวลา
0.020352 วินาที

Wirada Wanicharat
Title Contributor Type
Potential of bouea macrophylla kernel extract against multispecies bacterial-fungal biofilm
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Wirada Wanicharat
Boontharika Chuenjitkuntaworn
Warat Leelapornpisid
Phenphichar Wanachantararak
วิทยานิพนธ์/Thesis
Boontharika Chuenjitkuntaworn
Title Creator Type and Date Create
Effects of aquilaria crassna crude extract on osteogenic activity of MC3T3-E1 cells
มหาวิทยาลัยนเรศวร
Boontharika Chuenjitkuntaworn
Yosnarong Sirimethawong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Potential of bouea macrophylla kernel extract against multispecies bacterial-fungal biofilm
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Boontharika Chuenjitkuntaworn;Warat Leelapornpisid;Phenphichar Wanachantararak
Wirada Wanicharat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Warat Leelapornpisid
Title Creator Type and Date Create
Potential of bouea macrophylla kernel extract against multispecies bacterial-fungal biofilm
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Boontharika Chuenjitkuntaworn;Warat Leelapornpisid;Phenphichar Wanachantararak
Wirada Wanicharat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Evaluation of Calcium Hydroxide Nanoparticles on the Anti-osteoclastic Activity and Antimicrobial Activity Against Endodontopathogenic Microorganisms in Mixed-species Biofilm Model
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Warat Leelapornpisid;Phenpichar Wanachantararak;Napatsorn Imerb
Patarawadee Promta
วิทยานิพนธ์/Thesis
Phenphichar Wanachantararak
Title Creator Type and Date Create
Development of plant aromatase inhibitor nanoparticles for masculinization of zebrafish (Danio rerio)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Kazuhisa Sekimizu;Surachai Pikulkaew;Siripom Okonogi;Wasana chaisri;Phenphichar Wanachantararak
Tanongsak Sassa-deepaeng
วิทยานิพนธ์/Thesis
Chemical constituents of Thai aromatic plants having halitosis - inhibition activity
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Em On Chairote;Griangsak Chairote;Jidapha Tinoi;Phenphichar Wanachantararak;Kanchana Dumri
Plernpit Yasin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of plant aromatase inhibitor nanoparticles for masculinization of zebrafish ‪(Danio rerio)‬
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Kazuhisa Sekimizu;Surachai Pikulkaew;Siripom Okonogi;Wasana Chaisri;Phenphichar Wanachantararak
Tanongsak Sassa-deepaeng
วิทยานิพนธ์/Thesis
Potential of bouea macrophylla kernel extract against multispecies bacterial-fungal biofilm
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Boontharika Chuenjitkuntaworn;Warat Leelapornpisid;Phenphichar Wanachantararak
Wirada Wanicharat
วิทยานิพนธ์/Thesis
The Effect of Chlorhexidine-Chitosan formulations on Candida albicans biofilm inhibition and the physical properties of Polymethyl Methacrylate resin
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Pattaranat Banthitkhunanon;Phenphichar Wanachantararak
Nuttanich Jariyanurut
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 8
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,875
รวม 2,883 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 69,417 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 42 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 16 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 7 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 69,486 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48