แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์เสื่อกกหมู่บ้านหนองเกาะ ตำบลตระเปียงเตีย อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์

Address: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

Address: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
Email : Joke1977@gmail.com

Address: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
Email : kanokwan_joy7@hotmail.com
keyword: เสื่อ
Classification :.DDC: 633.57
; กก
; เสื่อกก
Abstract: การวิจัยเรื่อง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์เสื่อกกหมู่บ้านหนองเกาะ ตำบลตระเปียงเตีย อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์ สุรินทร์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นการผลิตเสื่อกกกับการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ และศึกษาแนวทางการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก หมู่บ้านหนองเกาะ ตำบลตระเปียงเตีย อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้การสังเกต (Observation) และสนทนากลุ่มในชุมชน ศึกษาจากประชาชนที่ผลิตเสื่อกก ผู้มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น สมาชิกกลุ่มแม่บ้านทอเสื่อกก หมู่บ้านหนองเกาะ หมู่ 2 ตำบลตระเปียงเตีย อำเภอลำดวน จำนวน 50 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามสัมภาษณ์ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 84.0 สถานะภาพสมรส ร้อยละ 70.0 อายุ 41-50 ปี ร้อยละ62.0 ระดับการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 80.0 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 82.0 รายได้ต่อเดือน ต่ำกว่า 3,000 บาท มีประสบการณ์ในการทอเสื่อกกมากกว่า 13 ปี ร้อยละ 26.0 การทอเสื่อกก เป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นจาก บรรพบุรุษมาสู่ลูกหลาน โดยเริ่มจากผู้ที่มีความรู้ในหมู่บ้าน โดยนำต้นกกราชินีมาเป็นวัตถุดิบในการทอเสื่อ นอกจากนี้กลุ่มแม่บ้านทอเสื่อกก ได้ทำการแปรรูปเสื่อกกให้มีความหลากหลายเพิ่มขึ้น เพื่อให้เป็นที่ต้องการของลูกค้า เช่นเสื่อพับ เสื่อม้วน ตะกร้า กระติบข้าวเหนียว ถามผลไม้ อาสนะ ที่รองจาน รองแก้วฯ รวมทั้งได้ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ที่สนใจที่อยู่ในชุมชนได้มาเรียนรู้ จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ คือ การทำด้วยมือ ผลิตจากวัตถุดินในท้องถิ่น มีลายให้เลือกมากมายและมีทั้งแบบผืนและแบบพับขนาดใหญ่และเล็กตามความต้องการ การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์เสื่อกก โดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ พบว่า กลุ่มแม่บ้านทอเสื่อกกสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มได้เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าถือ กระเป๋าใส่โน้ตบุ๊กและกระเป๋าใส่เอกสาร พร้อมทั้งสามารถเย็บของเสื่อกก (การเก็บของ) ผลิตภัณฑ์ได้เรียบเนียนมากขึ้น และคำนวณต้นทุน พร้อมกำหนดราคาขายผลิตภัณฑ์ได้เหมาะสม ส่งผลให้กลุ่มแม่บ้านมีผลิตภัณฑ์ออกจำหน่ายที่หลากหลาย และมีคุณภาพเพิ่มขึ้น และสามารถกำหนดราคาขายได้เหมาะสม ทำให้กลุ่มมีกำไรจากการขายสินค้าเพิ่มขึ้น อีกทั้งได้ออกแบบลายของกลุ่มแม่บ้าน โดยตั้งชื่อว่า “ลายหนองเกาะ” เพื่อนำลายหนองเกาะไปจดลิขสิทธิ์ลายต่อไป ส่งผลให้กลุ่มมีเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่มที่โดดเด่น แตกต่างจากกลุ่มผลิตภัณฑ์เสื่อกกกลุ่มอื่นๆ แนวทางการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก กลุ่มแม่บ้านทอเสื่อกกควรพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีรูปแบบที่หลากหลาย พัฒนาลวดลาย ให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น โดยนำภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือเอกลักษณ์ของชุมชน เพื่อนำมาสร้างเรื่องราวให้ผลิตภัณฑ์ ออกแบบตราผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสม สวยงาม ควรทำผลิตภัณฑ์ที่เป็นสีกกจากธรรมชาติ เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต และเป็นสินค้าที่ปลอดภัยจากสารเคมี ซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดต่างประเทศควรพัฒนาความรู้เกี่ยวกับการตลาด และการเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ ควรมีการอบรมให้ความรู้เรื่องการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ ให้ได้มาตรฐาน การให้ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนธุรกิจที่กลุ่มสามารถปฏิบัติได้ เพื่อลดความเสี่ยงในการดำเนินงาน Research application of Creative Economy to reed mats product of Nongkoh Village, Ta Triang Disitrict, Amphoe Lamduan, Surin Province. The objective to study the local production of reed mats on the application of creative economy. And studied ways to develop and develop and enhance products from Reed. Using Qualitative research using observation In-depth interview and focus groups in the community. Learn from the people who produced Reed. The knowledge of local knowledge. These data were collected from 50 samples using the questionnaire as a research tool. The statistics used used for data analysis. The frequency and percentage The research found that Interviewer Most of them are female 84.0%, marital status 70.0% age 41-50 year 62.0%. Primary education 4 80.0%. Agriculture occupies 82.0%. Monthly income is less than 3,000 baht experience in reed mats more than 13 years 26.0 percent. Weaving mats is the transfer of local wisdom. Ancestors to descendants from the knowledgeable people in the village. The queen as a raw material for mats. In addition, reed mats group. Reed mats have been made more diverse. To be the customer’s requirements, Such as mats, fold, roll mats, baskets, trays of fruit, Sticky rice and seat. Including the transfer of knowledge to those interested in the community have come to learn. The highlight of the product is made by hand from locally sourced produce. There are many designs to choose from and both sheet and roll, big and small as desired. To develop and enhance products Reed by using creative economy concepts. It found that Reed Weaving Maid group can develop the Group’s products has increased, namely, handbag, Notebook bags of documents with edging Reed (archive) A smoother product costing and pricing with the appropriate products Result in the group a housewife. There are a variety of products and increase quality and reasonable price of sale. Group profit from increased sales of products the design pattern of a group of housewives by naming patterns of Nong Ko to bring the island to the striped pattern of Nong further copyrighted. Result in the group a unique and distinctive group distinguished from other reed product groups group. Approach to develop and enhance products from Reed Housewife groups weave Reed should develop develop products to be developed in the many patterns that are unique to a specific local by bringing local wisdom or the identity of the community to generate stories, product design, branding, and packaging to the appropriate product should make beautiful color natural Reed production cost reduction and the product is safe from chemical substances, which is required for the international market should develop about marketing and PR channels should have the knowledge of product quality control. Knowledge about how to with a business plan for the group to reduce risk in the operation.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: สุรินทร์
Email: arit@srru.ac.th
Role: ผู้ให้ทุน
Created: 2559
Modified: 2565-10-25
Issued: 2565-10-25
งานวิจัย/Research report
application/pdf
CallNumber: 633.57 ว236ก
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 SRRUResearch2565-33.pdf 34.11 MB8 2024-11-13 17:17:28
ใช้เวลา
0.022128 วินาที

วิมลกานต์ จันทร์ประเสริฐ
Title Contributor Type
พฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้ระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ชิดชนก เดือนขาว;สันธนะ ประสงค์สุข;วิมลกานต์ จันทร์ประเสริฐ

บทความ/Article
การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการพัฒนาอาชีพเพื่อสร้างรายได้สำหรับผู้สูงอายุในตำบลโคกกลาง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
พลอยภัสสร สืบเสาะจบ;สันทนะ ประสงค์สุข;วิมลกานต์ จันทร์ประเสริฐ

บทความ/Article
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเช่าหอพักของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
สมฤทัย ใสยิ่ง;สันทนะ ประสงค์สุข;วิมลกานต์ จันทร์ประเสริฐ

บทความ/Article
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์เสื่อกกหมู่บ้านหนองเกาะ ตำบลตระเปียงเตีย อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
วิมลกานต์ จันทร์ประเสริฐ;ทรงกลด พลพวก;ธมนพัชร์ ศรีษะพลภูสิทธิ
ได้รับการสนับสนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
งานวิจัย/Research report
การศึกษาการรับรู้ภาพลักษณ์ร้านค้าปลีกสมัยใหม่ของผู้บริโภคในเขตจังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ทรงกลด พลพวก;วิมลกานต์ จันทร์ประเสริฐ

บทความ/Article
ธมนพัชร์ ศรีษะพลภูสิทธิ
Title Contributor Type
รูปแบบการสื่อสารในการถ่ายทอดภูมิปํญญาท้องถิ่นของกลุ่มทอผ้าไหมยกทองจันทร์โสมา จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ธมนพัชร์ ศรีษะพลภูสิทธิ
วิทยาธร ท่อแก้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อคุณลักษณะบัณฑิตสาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ธมนพัชร์ ศรีษะพลภูสิทธิ

บทความ/Article
พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสาร ความพึงพอใจ และปัจจัยต่อการเลือกอ่านหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์รายวันของประชากรในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ธมนพัชร์ ศรีษะพลภูสิทธิ;สมชาย ชายสำอาง;จุรินทร์ นินแท้;ศราวุธ บูรณะ

บทความ/Article
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์เสื่อกกหมู่บ้านหนองเกาะ ตำบลตระเปียงเตีย อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
วิมลกานต์ จันทร์ประเสริฐ;ทรงกลด พลพวก;ธมนพัชร์ ศรีษะพลภูสิทธิ
ได้รับการสนับสนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
งานวิจัย/Research report
การปรับตัวเพื่อเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
เลิศวัลลภ ศรีษะพลภูสิทธิ;ธมนพัชร์ ศรีษะพลภูสิทธิ

บทความ/Article
ได้รับการสนับสนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
Title Creator Type and Date Create
การศึกษาแนวทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศด้วยจักรยานในหมู่บ้านช้างจังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ได้รับการสนับสนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
จักรพงษ์ เจือจันทร์
งานวิจัย/Research report
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์เสื่อกกหมู่บ้านหนองเกาะ ตำบลตระเปียงเตีย อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ได้รับการสนับสนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
วิมลกานต์ จันทร์ประเสริฐ
ทรงกลด พลพวก
ธมนพัชร์ ศรีษะพลภูสิทธิ
งานวิจัย/Research report
การพัฒนาศักยภาพการจัดการทางการตลาดข้าวผอมมะลิอินทรีย์จังหวัดสุรินทร์ กรณีศึกษา สหกรณ์การเกษตรปราสาท จำกัด
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ได้รับการสนับสนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ศิวาพร พยัคฆนันท์
อาภาพร บุญประสพ
อัครเดช สุพรรณฝ่าย
งานวิจัย/Research report
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 1,875
รวม 1,877 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 98,891 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 41 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 23 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
รวม 98,957 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48