แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

"Shan Cuisine" The Intangible Cultural Heritage of Shan Cuisine alongthe Thai Frontier

keyword: Shan
; Shan’s food
; Intangible Cultural Heritage
; Ethnic Identity
; Thai Frontier
Abstract: This research aims to study and compile features of the identity in Shan cuisineand to include this identity within the UNESCO Convention for the Safeguarding of Intangible Cultural Heritage “Shan Cuisine” of Thailand.The research is qualitative research with collection of data by RapidEthnography Community Assessment Program, Ethnography Research Methodology and Survey Research Methodology. The research tools include recording forms of IntangibleCultural Heritage, interviews both structured and unstructured, questionnaires and 7 issue of concerns in communities study.The population of the study is the indigenous people concerned with folk food, the professional Shan food caterers and chefs who cook in the Shan’s ceremo-nies in Chiang Rai, Chiang Mai, Mae Hong Son and Tak. The research employed the Snowball Sampling technique.The results of the study and collection of the identity data of Shan food offered in ICH recording forms included a total of 44 items consisting of 33 savory items and 11 dessert items. These are in the role of relationships between (1) a recipe (2) the identity (3) the (food) ethnicity (4) the local wisdom (5) the cultural values and (6) reflects the social context.The studies of “Shan Cuisine” have “co-identities” in four areas with three maintypes of spices ; Tua Now, sesame and tomatoes.These are cooked by the assimilation of the interaction of culture and ethnic groups in order to bring a sense of the sameness(Self-Ascription) of Shan Cuisine in the Shan communities.The research shows that the other side means to break the “self” from the “other” (Ascribe by Others) and fromother regions and to show the other ethnic groups what“Shan Cuisine”means and to distinguish the“we” and “others”and show how the“food identity”is connected.In addition, “Shan Cuisine” is also indicative of “(food) ethnicity”, makes for Social space and is the collective conscious of the Shan people in Thailand. This includes the “space of inclusion” that brings “outsiders” (another ethnic groups), to come forward to study, learn, taste and try “of others” the Shan Cuisine”.
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและรวบรวมอัตลักษณ์ด้านอาหารของกลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่ ในฐานะเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ เพื่อเตรียมการฐานข้อมูลสําาหรับนําาเข้าสู่กระบวนการจัดทําาบัญชีรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “ครัวไทใหญ่” ประเทศไทยต่อไปงานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่เก็บข้อมูลภาคสนามด้วยการประเมินชุมชนแบบเร่งด่วนเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (RECAP) ร่วมกับการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnography Research)และการวิจัยเชิงสําารวจ (Survey Research) เครื่องมือวิจัยที่ใช้ประกอบด้วยแบบบันทึกรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม แบบสัมภาษณ์ทั้งที่มีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง และเครื่องมือศึกษาชุมชน7 ด้าน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นปราชญ์ด้านภูมิปัญญาอาหาร ผู้มีอาชีพขายอาหารไทใหญ่ และพ่อครัว/แม่ครัวกรณีมีงานพิธีของชุมชนไทใหญ่จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอนและตาก โดยเทคนิคการเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่ (Snowball Sampling) ผลการศึกษาและรวบรวมอัตลักษณ์ด้านอาหารของกลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่นําาเสนอในแบบบันทึกมรดก ฯ รวมทั้งสิ้น 44 รายการ ประกอบด้วยอาหารคาว 33 รายการ และอาหารหวาน 11รายการ ภายใต้บทบาทหน้าที่ซึ่งสัมพันธ์กันระหว่าง (1) การเป็นสูตรอาหาร (2) การเป็นอัตลักษณ์ (3) การเป็น (อาหาร) ชาติพันธุ์ (4) การเป็นภูมิปัญญา (5) การมีคุณค่าทางวัฒนธรรม และ (6) การสะท้อนบริบทชุมชน ผลการศึกษา “ครัวไทใหญ่” ทั้ง ๔ พื้นที่มีอัตลักษณ์ร่วมคือเครื่องปรุงหลักสามชนิด ได้แก่ ถั่วเน่า มะเขือเทศและงา หากแต่แต่ละพื้นที่มีวิธีการปรุงแตกต่างกันไปตามการกลืนกลายทางวัฒนธรรมกับกลุ่มชาติพันธุ์ที่ปฏิสัมพันธ์ด้วย ควบคู่ไปกับการปรับเปลี่ยนไปตามบริบทชุมชนด้านต่างๆ เครื่องปรุงหลักทั้งสามจึงเป็นอัตลักษณ์ร่วมที่นําามาซึ่งความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน (Self-Ascription) ของไทใหญ่ในขณะที่อีกด้านหนึ่งคือการแบ่ง “ตัวเอง” ออกจาก “คนอื่น” (Ascribe by Others) ที่เป็นไทใหญ่จากต่างภูมิภาครวมถึงกลุ่มชาติพันธุ์อื่นด้วย นั่นแสดงว่า “ครัวไทใหญ่” หมายถึงสิ่งที่ทั้ง “เรา” และ “คนอื่น” รู้สึกว่าเป็น “อัตลักษณ์ด้านอาหาร” นั่นเองนอกจากนี้ “ครัวไทใหญ่” ยังเป็นสิ่งบ่งบอกความเป็น (อาหาร) ชาติพันธุ์ที่ใช้ในการสร้างพื้นที่และสําานึกทางชาติพันธุ์ไทใหญ่ให้เกิดขึ้นในประเทศไทย รวมไปถึงการเป็น “พื้นที่แห่งการเชื้อเชิญ” (space of inclusion) ให้ “คนนอก” (กลุ่มชาติพันธุ์) มา “ศึกษา/เรียนรู้/ชิม” อาหาร “คนอื่น” (ไทใหญ่) อีกด้วย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. ศูนย์วิทยบริการ.
Address: บุรีรัมย์
Email: library@bru.ac.th
Created: 2016
Modified: 2566-03-28
Issued: 2022-10-22
บทความ/Article
application/pdf
eng
©copyrights Buriram Rajabhat University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 3222.pdf 159 KB2 2025-05-16 22:19:40
ใช้เวลา
0.024787 วินาที

Dujluedee Kongsuwan
Title Contributor Type
\"Shan Cuisine\" The Intangible Cultural Heritage of Shan Cuisine alongthe Thai Frontier
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Dujluedee Kongsuwan

บทความ/Article
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,806
รวม 2,806 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 19,838 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 28 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 14 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 7 ครั้ง
รวม 19,887 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.208