แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การพัฒนาตัวชี้วัดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนของนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 18
Developing Indicators of School Bullying for Students in Secondary Educational Service Area Office 18

Organization : มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา
Email : parinyar@buu.ac.th
keyword: การกลั่นแกล้งในโรงเรียน
; การวิเคราะห์องค์ประกอบ
Abstract: การพัฒนาตัวชี้วัดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนของนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 18 มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาองค์ประกอบการกลั่นแกล้งในโรงเรียนของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดการกลั่นแกล้งในโรงเรียน ของนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 และเพื่อตรวจสอบความตรงเชิง โครงสร้างการกลั่นแกล้งในโรงเรียนของนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ทั้งจังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง จำนวน 8 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 1067 คน นำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงบรรยาย โดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ และ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยปรากฎว่า การกลั่นแกล้งในโรงเรียนของนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 มีตัวชี้วัดทั้งหมด 12 ตัวชี้วัด ได้แก่องค์ประกอบที่ 1 การกลั่นแกล้งทางวาจา มีตัวชี้วัด 5 ตัว คือ ฉันชอบพูดนินทาเพื่อนคนอื่น ฉันชอบพูดล้อเลียนเพื่อนเมื่อเพื่อนทำผิดพลาด ฉันชอบล้อเลียนชื่อ นักเรียนคนอื่น ฉันชอบล้อเลียนชื่อพ่อแม่เพื่อน และฉันชอบตบตีเพื่อนเบา ๆ โดยฉันคิดว่าเป็นเรื่อง สนุก องค์ประกอบที่ 2 การกลั่นแกล้งทางสังคมมีตัวชี้วัด 4 ตัว คือ ฉันมีความสุขถ้าเพื่อนแตกแยก กัน ฉันชอบเวลาที่ทำให้เพื่อนรู้สึกไม่ดีและแยกตัวออกจากกลุ่มเพื่อน ฉันจะมีความสุขถ้าเพื่อน ทะเลาะกัน และฉันชอบยุให้เพื่อนทะเลาะกัน องค์ประกอบที่ 3 การกลั่นแกล้วทางกาย มีตัวชี้วัด 3 ตัว คือ ฉันจะทำร้ายร่างกายเพื่อนเมื่อทำให้ฉันโกรธ ฉันตบหรือเตะนักเรียนคนอื่น และฉันชอบตบหัว เพื่อนคนที่เขาอ่อนแอกว่า พิจารณาผลการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างขององค์ประกอบการ กลั่นแกล้งในโรงเรียน กับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า ค่าไคสแควร์เท่ากับ 58.48 ที่องศาอิสระ 44 มี ความน่าจะเป็น .07 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.99 ค่าดัชนีวัดระดับความ กลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.99 และค่าดัชนีรากกำลังสองเฉลี่ยของค่าความแตกต่าง โดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.01 แสดงว่า องค์ประกอบการกลั่นแกล้งในโรงเรียนมีความตรงเชิง โครงสร้าง
Noted: ทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณเงินรายได้ส่วนงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
Abstract: The Secondary Education Service Area Office 18's development of bullying indicators in student at schools aimed to develop factors of school bullying among students, develop indicators of school bullying, and examine the construct validity of school bullying among students there. The sample included 1067 students from grades 1 to 6 from the Office of Secondary Education Area 18 in Chonburi and Rayong Provinces, with a total of 8 schools. Descriptive statistics, exploratory factor analysis (EFA) and confirmatory factor analysis were employed in statistical analysis. The results revealed that school bullying among students under the Secondary Education Area Office 18 had 12 indicators. The first factor is verbal bullying, which had five indicators: I like to tattle about other friends, I like to make fun of my friends when they make mistakes, I like to make fun of other students' names, I like to ridicule the names of my friends' parents, and I like to hit my friends lightly because it's fun. The second factor is social bullying, which has four indicators: I like it when friends break up, I like it when my friends feel bad and leave the group, I like it when my friends argue, and I like to encourage my friends to argue. The third factor, physical bullying consisted of three indicators: I will hurt my friend if they make me angry, I slap or kick other students, and I like to slap my weaker friends. The results of examining the construct validity of the factors of school bullying with empirical data revealed that the Chi-squared = 58.48, df = 44, p= .07, GFI= 0.99, AGFI = 0.99 and RMSEA= 0.01. These indices exhibited that school bullying had a good construct validity with empirical data.
มหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักหอสมุด
Address: ชลบุรี
Email: buulibrary@buu.ac.th
Role: ผู้ให้ทุน
Created: 2564
Modified: 2566-06-15
Issued: 2565-09-14
งานวิจัย/Research report
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยบูรพา
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 2566_005.pdf 1.16 MB30 2025-05-29 09:21:11
ใช้เวลา
0.034699 วินาที

ปริญญา เรืองทิพย์
Title Contributor Type
การพัฒนาตัวบ่งชี้การส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุขของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 4
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ปริญญา เรืองทิพย์
ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน
ชวลิต ชูกำแพง
วิทยานิพนธ์/Thesis
โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรขาคณิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
มหาวิทยาลัยบูรพา
Seesamai Douangmany;ปริญญา เรืองทิพย์

บทความ/Article
โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของประสิทธิผลบุคลากรฝ่ายผลิต กรณีศึกษา: บริษัท กราเวียกราฟฟิคส์ จำกัดจังหวัดสมุทรสาคร
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
รัชกฤช ธนพัฒนดล;กิตติศักดิ์ จังพาณิชย์;ปริญญา เรืองทิพย์;วารุณี มิลินทปัญญา

บทความ/Article
การเพิ่มความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ด้วยกิจกรรมการติดตามวัตถุเคลื่อนที่แบบสามมิติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย: การศึกษาคลื่นไฟฟ้าสมอง
มหาวิทยาลัยบูรพา
ปิยวรรณ ถนัดธนูศิลป์.;ปริญญา เรืองทิพย์.;สุชาดา กรเพชรปาณี.

บทความ/Article
ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความภักดีของผู้รับบริการการแพทย์แผนไทยในภาคตะวันออกของประเทศไทย
มหาวิทยาลัยบูรพา
จุฬาลักษณ์ เทียนรุ่งรัศมี.;ปรัชญา แก้วแก่น.;ปริญญา เรืองทิพย์.

บทความ/Article
การพัฒนาเกณฑ์การประเมินระบบบริหารคุณภาพสำหรับอุตสาหกรรมแม่พิมพ์
มหาวิทยาลัยบูรพา
พัชรา เกรียงไกร;เสรี ชัดแช้ม;ปริญญา เรืองทิพย์

บทความ/Article
การเพิ่มความใส่ใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดยใช้โปรแกรมฟังดนตรีที่แทรกสอดคลื่นเสียงแบบ Binaural Beats: การศึกษาศักย์ไฟฟ้าสมองสัมพันธ์กับเหตุการณ์
มหาวิทยาลัยบูรพา
ศศิวิมล พราหมณี;สุชาดา กรเพชรปาณี;ปริญญา เรืองทิพย์

บทความ/Article
การเพิ่มเชาวน์ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาด้วยโปรแกรมการฝึกกระบวนการทางปัญญาเสมือนจริง: การศึกษาคลื่นไฟฟ้าสมอง
มหาวิทยาลัยบูรพา
สดใส ดุลยา.;สุมาลี สมนึก;ปริญญา เรืองทิพย์;ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

บทความ/Article
การเพิ่มความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย โดยการเล่นหมากเก็บแบบประยุกต์
มหาวิทยาลัยบูรพา
จรัญญา สีพาแลว;ปริญญา เรืองทิพย์;ปรัชญา แก้วแก่น

บทความ/Article
การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อเลือกที่พักโฮมสเตย์โดยใช้วิธีการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ปรับใหม่
มหาวิทยาลัยบูรพา
ชัยยา น้อยนารถ;ปริญญา เรืองทิพย์;ครรชิต เชื้อขำ

บทความ/Article
การพัฒนาทักษะชีวิตด้านทักษะทางปัญญาอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาระดับอาชีวศึกษา
มหาวิทยาลัยบูรพา
กนก พานทอง;ภัทราวดี มากมี;ปริญญา เรืองทิพย์;ประวิทย์ ทองไชย;ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

บทความ/Article
การพัฒนาตัวสถิติเลวีนแบบปรับใหม่โดยใช้มัธยฐานในการทดสอบการเท่ากันของความแปรปรวน
มหาวิทยาลัยบูรพา
สุกัลญา ศิริมาตร์;ปริญญา เรืองทิพย์;ภัทราวดี มากมี;อาฟีฟี ลาเต๊ะ

บทความ/Article
การพัฒนาตัวชี้วัดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนของนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 18
มหาวิทยาลัยบูรพา
ปริญญา เรืองทิพย์
วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
งานวิจัย/Research report
การพัฒนาเกณฑ์การประเมินสมรรถนะข้ามวัฒนธรรมของผู้ปฏิบัติงานด้านวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยบูรพา
สุปราณี เวชประสิทธิ์;พูลพงศ์ สุขสว่าง;ปริญญา เรืองทิพย์

บทความ/Article
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
มหาวิทยาลัยบูรพา
กษิดิ์ศร วิไลเลิศ;ปริญญา เรืองทิพย์;ภัทราวดี มากมี

บทความ/Article
การพัฒนาตัวชี้วัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักศึกษาอาชีวศึกษาสู่การเป็นแรงงานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
สรวิทย์ สมศรี;ปิยะทิพย์ ประดุจพรม;ปริญญา เรืองทิพย์

Article/Proceeding
วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
Title Creator Type and Date Create
การพัฒนาตัวชี้วัดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนของนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 18
มหาวิทยาลัยบูรพา
วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
ปริญญา เรืองทิพย์
งานวิจัย/Research report
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 6
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,149
รวม 2,155 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 215,256 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 685 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 555 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 49 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 43 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 24 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 4 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 216,622 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48