แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การผลิตเอทานอลจากมันสำปะหลังโดยการใช้เชื้อ Amylomyces rouxii TISTR 3182 และเซลล์ตรึงรูปของเชื้อ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5088
Bioethanol production from cassava using Amylomyces rouxii TISTR 3182 and immobilized cells of Saccharomyces cerevisiae TISTR 5088

ThaSH: เอทานอล -- การผลิต
ThaSH: มันสำปะหลัง -- การใช้ประโยชน์
ThaSH: เชื้อรา
LCSH: Ethanol -- Manufacture
LCSH: Cassava -- Utilization
LCSH: Fungi
Abstract: ไบโอเอทานอลจัดเป็นพลังงานชีวภาพที่กำลังได้รับความสนใจ เนื่องจากเป็นพลังงานทดแทนที่มีประสิทธิภาพ ต้นทุนการผลิตตํ่า และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตเอทานอลจากมันสำปะหลังด้วยกระบวนการย่อยแยกจากกระบวนการหมัก (Separate hydrolysis and fermentation; SHF) เมื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในกระบวนการย่อยมันสำปะหลัง (Saccharification) ด้วยเชื้อ Amylomyces rouxii TISTR 3182 พบว่า การใช้ความเข้มข้นมันสำปะหลังร้อยละ 20 (นํ้าหนักต่อปริมาตร) ที่ไม่มีการปรับพีเอช และความเข้มข้นสปอร์เชื้อราเริ่มต้น 107 สปอร์ต่อมิลลิลิตร ในวันที่ 4 จะให้ค่ากิจกรรมเอนไซม์กลูโคอะไมเลสสูงสุด คิดเป็น 3.09 ± 0.59 ยูนิตต่อมิลลิลิตร ปริมาณนํ้าตาลรีดิวซ์สูงสุด คิดเป็น 84.17 ± 1.89 กรัมต่อลิตร ตามด้วยการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการหมักเอทานอลโดยใช้เซลล์ตรึงของ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5088 พบว่าการใช้เซลล์ตรึงที่ความเข้มข้นของแคลเซียมอัลจิเนตร้อยละ 2 (นํ้าหนักต่อปริมาตร) และเม็ดเจลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 3.35 มิลลิเมตร ในวันที่ 1 จะให้ปริมาณเอทานอลสูงสุดค่าผลได้เอทานอล และอัตราการผลิตเอทานอลเท่ากับ 35.14 ± 13.99 กรัมต่อลิตร 0.36 ± 0.18 กรัมต่อกรัม และ 0.24 ± 0.11 กรัมต่อลิตรต่อชั่วโมง ตามลำดับ และมีประสิทธิภาพการผลิตเอทานอล ร้อยละ 65.44 ± 31.25 เมื่อเทียบกับทฤษฎี ซึ่่งไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญกับการใช้เซลล์อิสระนอกจากนี้ยังทำการศึกษาการนำเซลล์ตรึงรูปกลับมาใช้ซํ้า พบว่าเซลล์ตรึงรูปเสียหายตั้งแต่วันแรกของกระบวนการหมัก เมื่อดูพื้นผิวเม็ดเจลของเซลล์ตรึงรูปก่อนและหลังการหมักด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) พบว่าเม็ดเจลหลังการหมักมีการเจริญของเชื้อ S. cerevisiae TISTR 5088 ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายบนพื้นผิวโดยมีรูพรุนกว้างขึ้น
Abstract: Bioethanol is categorized as an interesting biofuel due to its efficiency of renewable energy source, low production costs and environmentally friendly. The objective of this research is to produce ethanol from cassava using a separate hydrolysis and fermentation (SHF) process. Optimization on saccharification by Amylomyces rouxii TISTR 3182 Was studied. The result showed that 20 % (w/v) cassava concentration without pH adjusted and 107 spore/mL of A. rouxii TISTR 3182 Were optimum conditions in 4th date showed glucoamylase activity and reducing sugars representing 3.09 ± 0.59 unit/mL and 84.17 ± 1.89 g/L, respectively. Followed by optimization on ethanol fermentation using immobilized Saccharomyces cerevisiae TISTR 5088, the result revealed that 2% (w/v) calcium alginate with diameter larger more than 3.35 mm at 1st date showed the highest ethanol concentration, yield of ethanol and productivity representing 35.14 ± 13.99 g/L, 0.36 ± 0.18 g/g and 0.24 ± 0.11 g/L/h, respectively, whereas the fermentation efficiency was 65.44% of the theoretical value, which was statistically insignificant difference to that of the free cell. Moreover, the immobilized cell was damaged in 1st date. Scanning electron microscope (SEM) study confirmed that immobilized S. cerevisiae TISTR 5088 grew on bead surface leading to widen gel porous.
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. สำนักหอสมุดกลาง
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: Lifelong@kmitl.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Email : daungjai.oc@kmitl.ac.th
Created: 2563
Modified: 2564-07-13
Issued: 2564-07-13
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Fulltext Wachiraya Janthachot.pdf 2.2 MB12 2023-05-07 16:15:37
ใช้เวลา
0.017124 วินาที

วชิรญาณ์ จันทโชติ
Title Contributor Type
การผลิตเอทานอลจากมันสำปะหลังโดยการใช้เชื้อ Amylomyces rouxii TISTR 3182 และเซลล์ตรึงรูปของเชื้อ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5088
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วชิรญาณ์ จันทโชติ
ดวงใจ โอชัยกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ดวงใจ โอชัยกุล
Title Creator Type and Date Create
ผลของสารสกัดไพลต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์.
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล.
เชฏฐ รัตนาจารย์.
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเชื้อราและเชื้อยีสต์ที่แยกได้จากลูกแป้งเหล้าเปรียบเทียบกับเชื้อบริสุทธิ์ในการผลิตสาโท
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
วิมลักษณ์ รัตนปรีดากุล.
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตไวน์ขิงโดยเชื้อ Saccharomyces cerevisiae สายพันธุ์ต่าง ๆ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
ปิยดา ลีลาปิยะนาถ.
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของไคโตซานต่อการผลิตกระดาษจากเซลลูโลสจากแบคทีเรีย
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล.
พิชพันธ์ พงษ์สกุล.
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตสารสีโดยเชื้อ Monascus purpureus TISTR 3090 บนลูกเดือย และการประยุกต์ใช้ในกุนเชียง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล.
กมลวรรณ ตันโสภณ.
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมบัติของแผ่นฟิล์มเซลลูโลสร่วมกับซิงค์ออกไซด์เพื่อเตรียมเป็นวัสดุปิดแผล
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
จิรารัตน์ จิตรานุวัฒน์กุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไบโอเอทานอลจากน้ำทิ้งกระบวนการแยกแป้งมันสำปะหลัง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
วริศรา ลัทธิวงศกร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตไบโอเอทานอลจากมันเทศ โดยใช้เชื้อผสมระหว่าง Saccharomyces cerevisiae TISTR 5088 และเชื้อราที่ย่อยแป้ง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
วรัญญา บินอานัด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคัดแยกและจัดจำแนกเชื้อยีสต์และแบคทีเรียอะซิติกจากหัวเชื้อคอมบูชาเพื่อผลิตเครื่องดื่มคอมบูชา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
ปิยวรรณ วัชรอาภาไพบูลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การแยกและการคัดเลือกแบคทีเรียอะซิติก และยีสต์จากการหมักน้ำส้มสายชูเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำส้มสายชูหมัก
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
รุจิรา ทองเหลือดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตเอทานอลจากมันสำปะหลังโดยการใช้เชื้อ Amylomyces rouxii TISTR 3182 และเซลล์ตรึงรูปของเชื้อ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5088
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
วชิรญาณ์ จันทโชติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาแผ่นฟิล์มปิดแผลเซลลูโลสจากแบคทีเรียร่วมกับสารสกัดจากเปลือกมังคุด
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล;ภัทธาวุธ มนต์วิเศษ
พรภัสสร มูลสูงเนิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตคอมบูชาที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากชาดำและกระเจี๊ยบแดงด้วยเชื้อ Acetobacter pasteurianus AJ605 และเชื้อ Zygosaccharomyces bailii YN403
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล;ศุภโชค มั่งมูล
ธัญญรัตน์ สุทธิพัฒน์กุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตผงเซลลูโลสจากแบคทีเรียเพื่อทดแทนไขมันในผลิตภัณฑ์กุนเชียง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
ภณิดา อ่อนน้อม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตเครื่องดื่มซินไบโอติกจากนํ้ามังคุด โดยเชื้อ Lactobacillus casei 431®
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
ยุวดี ศิลปาจารย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลิตภัณฑ์คอมบูชาโพรไบโอติกจากกัญชงด้วย Socchoromyces boulardii และ Acetobacter pasteurianus AJ605
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
โสภิดา มั่นคง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มคอมบูชาโพรไบโอติกโดยใช้เชื้อบริสุทธิ๋
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ดวงใจ โอชัยกุล
อภิทิพย์ สุขใส
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 24
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,483
รวม 2,507 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 71,440 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 51 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 27 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 9 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 71,531 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48