แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
Curriculum development for enhance teacher professional's attribute of students Faculty of Education Yala Rajabhat University

keyword: นักศึกษาครู
ThaSH: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาคณะครุศาสตร์ -- หลักสูตร
; Student teachers
Abstract: การวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานการพัฒนา หลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษา ประกอบด้วย 1) การประเมินความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราซภัฏยะลา กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น จำนวน 239 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับคุณลักษณะวิชาชีพครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.81 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าความต้องการจำเป็น และ 2) การศึกษาแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษาตามความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งมีโครงสร้างวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษา ประกอบด้วย 1) การยกร่างหลักสูตรเป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาข้อมูลพื้นฐานมายกร่างหลักสูตรตามกระบวนการพัฒนาหลักสูตร 2) การตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร โดยผู้เชี่ยวชาญด้านคุณลักษณะวิชาชีพครูด้านการพัฒนาหลักสูตรและการสอน และด้านการวัดและ ประเมินผล รวม 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบประเมินความเหมาะสมและ ความสอดคล้องของหลักสูตร 3) การทดลองใช้หลักสูตรกับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราซภัฏยะลา จำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย หลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครู แบบทดสอบความรู้ เรื่องคุณลักษณะวิชาชีพครู เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 50 ข้อ มีค่าความยาก (p) อยู่ระหว่าง 0.43 - 0.63 ค่าอำนาจจำแนก (r) อยู่ระหว่าง 0.36 - 0.89 และค่าความเที่ยง (rtt) มีค่าเท่ากับ 0.96 และแบบประเมินความพึงพอใจต่อหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครู วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ 4) การประชาพิจารณ์หลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครู ของนักศึกษา เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษากับคณาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษา เมื่อเรียงลำดับความสำคัญจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการมีความรักที่จะแบ่งปันความรู้ให้ผู้อื่น ด้านการรู้จักแบ่งปันความรับผิดขอบ ด้านการเข้าใจและยอมรับผู้อื่น ด้านการส่งเสริมให้ผู้อื่นมีความคิดสร้างสรรค์ และด้านความมีเมตตากรุณาและปรารถนาดีต่อผู้อื่น และผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นว่า แนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษา ประกอบด้วย ลักษณะของครูที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 ที่บทบาทครูจะเป็นลักษณะของผู้ส่งเสริมการเรียนรู้ และบัณฑิตวิชาชีพ ครูควรมีคุณลักษณะทางวิชาชีพสอดคล้องกับมาตรวิชาชีพครูจากคุรุสภา เสริมทางด้านการแบ่งปันความรู้ ความรับผิดชอบ การยอมรับผู้อื่น และส่งเสริมให้ผู้อื่นให้มีความคิดสร้างสรรค์ 2. หลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษา 2.1 หลักสูตรมีองค์ประกอบ ความเป็นมาและความสำคัญของหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร สาระการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้และการจัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งโครงสร้างหลักสูตรออกเป็น 5 หน่วย ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 15 ชั่วโมง มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และมีความสอดคล้องกันทุกองค์ประกอบ 2.2 นักศึกษามีคุณลักษณะวิชาชีพครู ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียนในภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักศึกษามีความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูระดับมากที่สุด 2.3 คณาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตร เสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์อยู่ในระดับมาก
Abstract: This research consists of two steps. The first step is the study of basic information about curriculum development to enhance the professional teacher characteristics of the students, which consists of two parts. 1) The needs assessment of professional teacher characteristics of students of the Faculty of Education, Yala Rajabhat University. The sample of 239 students are selected by stratified sampling. The tool for data collection is a questionnaire about the needs assessment for professional teacher characteristics for which the reliability is 0.81. The data are analyzed by mean, S.D., and needs value. 2) The study of guidelines for enhancing the professional teacher characteristics of students according to the opinions of eight experts. The tool used for data collection is semi-structured interviews which are analyzed by content analysis. The second step is the development of the curriculum to enhance the professional teacher characteristics of the students. This step comprises four parts. 1) Curriculum drafting which uses the information from the basic information study to draft the curriculum according to the process of curriculum development. 2) Curriculum quality examination by seven experts in professional teacher characteristics, curriculum development and teaching, and measurement and evaluation. The tool for data collection is an assessment form for the suitability and consistency of the curriculum. 3) Curriculum testing with the sample group consisting of 24 students in semester 2 of the educational year 2017 from the Faculty of Education, Yala Rajabhat University. The tools for data collection are the curriculum for enhancing professional teacher characteristics and a professional teacher characteristics test of 50 multiple-choice questions with four choices for which the range of difficulty (p) is 0.43 - 0.63, the range of discrimination (r) is 0.36 - 0.89, and the reliability (rₜₜ) is 0.96. The satisfaction assessment form for the curriculum for enhancing professional teacher characteristics is analyzed by mean and S.D. 4) The public hearing for the curriculum for enhancing professional teacher characteristics of 24 students and teachers from the Faculty of Education, Yala Rajabhat University. The tool for data collection is a questionnaire asking about opinions of the curriculum and analyzed by mean and S.D. From the study the results can be shown as follows: 1. The needs of professional teacher characteristics from the highest are knowledge sharing preference, responsibility sharing, understanding and accepting, creativity support, and kindness and good wishes. The experts have the opinion that the guidelines for enhancing professional teacher characteristics of students consist of teacher characteristics which are consistent with the curriculum objectives for the basic education level, especially for 21st-century skills in which the role of teachers is to support students. Moreover, professional teacher graduates should have professional characteristics consistent with teaching professional standards according to The Teachers' Council of Thailand to enhance knowledge sharing, responsibility sharing, accepting, and creativity support. 2. Curriculum for enhancing the professional teacher characteristics of students. 2.1 The curriculum covers the components, history and importance, objectives, structure, learning subjects, media and learning resources, and learning measurement and assessment. The curriculum structure can be separated into five units which need 15 hours each to arrange the learning activity. The curriculum is highly suitable and consistent with all components. 2.2 The professional teacher characteristics of students are very high. The post-test score is higher than the pre-test score overall with the statistical significance at the level of .01. Moreover, the students are highly satisfied with the application of the curriculum for enhancing their professional teacher characteristics at a very high level. 2.3 Teachers of the Faculty of Education, Yala Rajabhat University, highly agree with the curriculum for enhancing the professional teacher characteristics of the students of the Faculty of Education.
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. สำนักหอสมุดกลาง
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: Lifelong@kmitl.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Email : paitoon.pi@kmitl.ac.th
Created: 2562
Modified: 2563-10-26
Issued: 2563-10-26
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: EThesis
tha
Spatial: ไทย (ภาคใต้)
Spatial: ยะลา
©copyrights สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Fulltext Nannam Buaklay.pdf 4.79 MB107 2025-07-04 10:22:47
ใช้เวลา
0.016165 วินาที

น่านน้ำ บัวคล้าย
Title Contributor Type
การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
น่านน้ำ บัวคล้าย
ไพฑูรย์ พิมดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน เรื่องสัญลักษณ์พิกัดทางด้านรูปทรง GD&T สำหรับนักเรียนอาชีวศึกษา
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ธนาวุฒิ หอมสิน;เมธา อึ่งทอง;น่านน้ำ บัวคล้าย;ณัฐกฤต เอี่ยมเต็ง

Article/Proceeding
การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม: หลักการใช้เครื่องมือวัดละเอียดสำหรับงานช่างอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ศิริพงษ์ แพร่ศิริพุฒิพงศ์;สุรวุฒิ ยะนิล;เมธา อึ่งทอง;น่านน้ำ บัวคล้าย

Article/Proceeding
การศึกษาองศาของมุมลับคมมีดส่งผลต่อผลกระทบความหยาบของผิว เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาช่าง ผ่านกระบวนการเรียนรู้แนวคิดฉากทัศน์เป็นฐาน
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
นรุตม์ คล้ายสุบรรณ์;เมธา อึ่งทอง;ณัฐกฤต เอี่ยมเต็ง;น่านน้ำ บัวคล้าย;วรวุฒิ กังหัน

Article/Proceeding
การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาวัสดุงานช่างอุตสาหกรรม โดยใช้รูปแบบการสอน MIAP ร่วมกับรูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการเรียนรู้ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ธนะชัย สุ่มสังข์;สุรวุฒิ ยะนิล;เมธา อึ่งทอง;น่านน้ำ บัวคล้าย

Article/Proceeding
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจำลองข้อบกพร่องของงานเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบสถานการณ์จำลองเสมือนจริง
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
สุภารัตน์ ทองม่วง;เมธา อึ่งทอง;น่านน้ำ บัวคล้าย;ณัฐกฤต เอี่ยมเต็ง

Article/Proceeding
การพัฒนาเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้วิชาเขียนแบบ เรื่องภาพฉาย สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
หัสดี ศรีหาพล;เมธา อึ่งทอง;น่านน้ำ บัวคล้าย;ณัฐกฤต เอี่ยมเต็ง

Article/Proceeding
ไพฑูรย์ พิมดี
Title Creator Type and Date Create
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเซนต์หลุยส์ฉะเชิงเทรา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
หทัยชนก ศรีชนะวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ตัวแปรที่ส่งผลต่อความมีวินัยในการใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์บนเครือข่าย วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโรงเรียนมัธยมบ้านบางกะปิ กรุงเทพมหานคร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี, อาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์.;Thewawuth Simasathien.
เทววุฒิ สิมะเสถียร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาในการใช้กระดานอัจฉริยะของครูโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
ชฎามาศ ศรีชนะวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาเลิร์นนิ่งออปเจ็กต์เรื่องการเขียนโปรแกรมวาดรูปทรงสองมิติ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
ชฎาพร เชียรศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนเรื่อง ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (เอสคิวแอล) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
ปรารถนา ภักดีประพันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการทบทวนเรื่องพื้นฐานการเขียนโปรแกรมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
มณฑกานต์ ศิลา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการทบทวน เรื่อง ความรู้เบื้องต้นโปรแกรม ไมโครซอฟต์แอคเซส สำาหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
มหาวิทยาลัยนครพนม
ฐิยาพร กันตาธนวัฒน์;ไพฑูรย์ พิมดี
สุภาพรรณ มาลัย
บทความ/Article
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน เรื่องการสื่อสารข้อมูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
เอกชัย ฉิมพลอย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง การใช้โปรแกรมสแครช สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
พรทิพย์ ตองติดรัมย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง การเขียนผังงานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
พิมพันธุ์ จันทะทัง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะวิชาชีพครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
น่านน้ำ บัวคล้าย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากิจกรรมตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะครูของโรงเรียนที่จัดการศึกษาทางไกล
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
โมเดลเชิงเส้นตรงระดับลดหลั่นของตัวแปรระดับนักเรียนและห้องเรียน ที่มีอิทธิพลต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
อรนิษฐ์ โชคชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเตรียมความพร้อมสมรรถนะการฝึกอาชีพในสถานประกอบการของนักศึกษาระบบทวิภาคี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี
สมชาติ บุญศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการส่งเสริมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับปฐมวัยของโรงเรียนเอกชน เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ณรงค์ พิมสาร;ไพฑูรย์ พิมดี
พิมพ์พรรณ ปัญญารัตนะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการพัฒนาครูโรงเรียนเอกชนจังหวัดชลบุรีในการสื่อสารภาษาอังกฤษ โดยการทำงานเป็นฐานร่วมกับวงจรคุณภาพ
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต;ไพฑูรย์ พิมดี
ชญาดา กวินกมลโรจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการบริหารงานประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนเอกชนในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดชลบุรี
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ณรงค์ พิมสาร;ไพฑูรย์ พิมดี
จิรายุ คุณสืบพงษ์พันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยอินเทอร์เน็ตแห่งสรรพสิ่งบนสมาร์ทโฟน สำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของไทย
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สมเกียรติ ตันติวงศ์วาณิช;ไพฑูรย์ พิมดี
กอบชัย สิริพงศ์ดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการฝืกอบรมแบบผสมผสานโดยใช้การเรียนรู้ปัญหาเป็นฐานผ่านแชทบอทเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของบุคลากรในสถานประกอบการ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ฉันทนา วิริยเวชกุล;ไพฑูรย์ พิมดี
วริษฐา แสงฤทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้านร่วมกับปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี;จิรารัตน์ สิทธิวรชาติ
เฌอริสา นันทา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนโปรแกรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ฐิยาพร กันตาธนวัฒน์;ไพฑูรย์ พิมดี
ภัทรพล พรหมมัญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในสภาพแวดล้อม การเรียนรู้แบบคลาวด์คอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และสื่อดิจิทัลสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี;พรรณี ลีกิจวัฒนะ
ภารวี ศรีกาญจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกิจกรรมการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณที่เสริมสร้างการคิดเชิงคำนวณ สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี;สมเกียรติ ตันติวงศ์วาณิช
สาวิตรี พิพิธกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการเรียนแบบรอบรู้จุลภาคปรับเหมาะร่วมกับปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สำหรับนักศึกษาวิทยาลัยชุมชน
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี;ฐิยาพร กันตาธนวัฒน์
อัญมณี อุสสาร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเสมือนเพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิชาชีพครูของโรงเรียนสุขภาวะ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ศิริรัตน์ เพ็ชร์แสงศรี;ไพฑูรย์ พิมดี
ฉัตรแก้ว คณะวาปี
วิทยานิพนธ์/Thesis
องค์ประกอบของการตัดสินใจใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี;ฐิยาพร กันตาธนวัฒน์
กนกวรรณ อาภาธีรญาณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคชันนิซึมโดยใช้แอปพลิเคชัน สำหรับการศึกษาเพื่อส่งเสริมผลการเรียนรู้เรื่อง สมดุลสถิต ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี;พรรณี ลีกิจวัฒนะ
ณทัดตา สงวนพวก
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงร่วมกับเทคนิคการวิเคราะห์สถานการณ์ (5W1H) เรื่อง การคิดแก้ปัญหา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนกระทุ่มแบน \"วิเศษสมุทคุณ\"
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
พรรณี ลีกิจวัฒนะ;ไพฑูรย์ พิมดี
พรสัมฤทธิ์ อยู่ตระกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิจัยและพัฒนาคู่มือประเมินสมรรถนะผู้ประเมินภายนอกการศึกษาปฐมวัย
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
พรรณี ลีกิจวัฒนะ;ไพฑูรย์ พิมดี
ขนิษฐา ตั้งวรสิทธิชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สมเกียรติ ตันติวงศ์วาณิช;ไพฑูรย์ พิมดี
แสงอุทัย มอโท
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการทบทวน เรื่องการ ประกอบคอมพิวเตอร์และการติดตั้งโปรแกรม รายวิชาระบบคอมพิวเตอร์และ ส่วนประกอบ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สุวรรณ เบ็งทอง;ไพฑูรย์ พิมดี
ดนัย ทับอ่ำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนออนไลน์ยุควิถีชีวิตใหม่ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรค C0VID-19 ของนักศึกษาวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สุวรรณา เบ็งทอง;ไพฑูรย์ พิมดี
พุทธินาถ สงพรหม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องอัลกอริทึมสำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เกมแบบสืบเสาะหาความรู้
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไพฑูรย์ พิมดี;สุวรรณา เบ็งทอง
ภานุวัตร ชูบัวขาว
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบกิจกรรมเป็นฐานด้วยรูปแบบ ออนไลน์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์สำหรับนักศึกษา ระดับปริญญาตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สมเกียรติ ตันติวงศ์วาณิช;ไพฑูรย์ พิมดี
บวรวิช รอดรังษี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบนิเวศทางการเรียนรู้ดิจิทัลร่วมกับการจัดการเรียนรู้ แบบส่วนบุคคลเพื่อเสริมสร้างทักษะความเป็นพลเมืองดิจิทัล สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
อัคพงศ์ สุขมาตย์;ไพฑูรย์ พิมดี
ปราริชาติ รื่นพงษ์พันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 652
รวม 652 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 37,411 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 22 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 8 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 5 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 37,449 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48