แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การใช้น้ำมันเมล็ดชาทดแทนเนยสดในผลิตภัณฑ์คุกกี้งาขี้ม้อน
Utilization of tea seed oil substitution butter in perilla seed cookies product

Organization : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
keyword: คุกกี้
Classification :.DDC: 641.8654
; คน้ำมันเมล็ดชา
; งาขี้ม้อน
; คุกกี้งาขี้ม้อน
Abstract: การใช้น้ำมันเมล็ดชาทดแทนเนยสดในผลิตภัณฑ์คุกกี้งาขี้ม้อน มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสูตรพื้นฐานผลิตภัณฑ์คุกกี้เนยสด (2) ศึกษาปริมาณงาขี้ม้อนที่เหมาะสมส้าหรับเสริมในผลิตภัณฑ์คุกกี้เนยสด (3) ศึกษาปริมาณการใช้น้ามันเมล็ดชาทดแทนเนยสดในผลิตภัณฑ์คุกกี้งาขี้ม้อน (4) ศึกษาคุณค่าทางโภชนาการผลิตภัณฑ์คุกกี้งาขี้ม้อนที่มีการใช้น้ำมันเมล็ดชาทดแทนเนยสด และ (5) เพื่อศึกษาการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์คุกกี้งาขี้ม้อนที่มีการใช้น้ำมันเมล็ดชาทดแทนเนยสดผลการคัดเลือกสูตรพื้นฐานผลิตภัณฑ์คุกกี้เนยสด 4 สูตร พบว่าผู้ทดสอบชิมให้การยอมรับสูตรที่ 4ในด้านความชอบโดยรวม ลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส ในระดับชอบมาก โดยคุกกี้เนยสดสูตรที่ 4 มีค่าความสว่าง ค่าสีแดง และค่าสีเหลือง สูงกว่า เนื่องจากมีสัดส่วนส่วนผสมที่แตกต่างกันและระยะเวลาในการผสมมีผลต่อการขึ้นฟูของคุกกี้ ส่วนความแข็งของคุกกี้เนยสด โดยคุณภาพทางประสาทสัมผัสสอดคล้องกับคุณภาพทางด้านกายภาพ คือผู้ทดสอบชิมให้คะแนนความชอบของคุกกี้เนยสดสูตรที่ 4 ในคุณลักษณะด้านเนื้อสัมผัสมากที่สุด (2) เพื่อศึกษาปริมาณงาขี้ม้อนที่เหมาะสมสำหรับเสริมในผลิตภัณฑ์คุกกี้เนยสด ในระดับที่ต่างกัน 4 ระดับ คือ ร้อยละ 5 ร้อยละ 10 ร้อยละ 15และ ร้อยละ 20 ของน้ำหนักส่วนผสมทั้งหมด พบว่าผู้ทดสอบชิมให้การยอมรับสูตรที่ 2 ร้อยละ 10ในด้านความชอบโดยรวม ลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส ในระดับชอบมาก การเสริมปริมาณงาขี้ม้อนที่เพิ่มขึ้น ค่าความสว่าง ค่าสีแดง และค่าสีเหลือง มีผลต่อค่าสีของคุกกี้งาขี้ม้อน (3)เพื่อศึกษาปริมาณการใช้น้ำมันเมล็ดชาทดแทนเนยสดในผลิตภัณฑ์คุกกี้งาขี้ม้อน ที่ต่างกัน 3 ระดับ คือ ร้อยละ 40 ร้อยละ 50 และ ร้อยละ 60 ของน้าหนักเนยสด พบว่าผู้ทดสอบชิมให้การยอมรับสูตรที่ 2 ร้อยละ 50 ในด้านความชอบโดยรวม ลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส ในระดับชอบมากด้านค่าความสว่าง ค่าสีแดง และค่าสีเหลือง ของคุกกี้น้ำมันเมล็ดชางาขี้ม้อนลดลง เนื่องจากคุณสมบัติของเนยสด และน้ำมันเมล็ดชา ท้าให้มีอัตราการขึ้นฟูของผลิตภัณฑ์มีที่ลักษณะโปร่งเบาคุกกี้ที่ได้จะมีสีเข้มเมื่อใช้ปริมาณน้ำมันเมล็ดชาที่เพิ่มขึ้น ซึ่งคุกกี้มีลักษณะที่ดี กรอบร่วน ดังนั้นการใช้น้ำมันเมล็ดชาทดแทนเนยสดในผลิตภัณฑ์คุกกี้งาขี้ม้อนในปริมาณร้อยละ 50 ของเนยสด เป็นปริมาณที่มีความเหมาะสมสำหรับพัฒนาผลิตภัณฑ์
Abstract: Utilization of tea seed oil Substitute butter in Perilla seed cookies product the objective for (1) study the basic formula of butter cookies (2) study the appropriate amount of Perilla seed for supplement in butter cookies products (3) study the amount of tea seed oil substitutes for butter in Perilla seed cookie products (4) study the nutritional value of Perilla seed cookies using tea seed oil instead of butter and (5) to study consumer acceptance of Perilla seed cookies using tea seed oil in place of butter. The results of the selection of the 4 basic butter cookie recipes found that the tasting panelists accepted the formula 4 in terms of overall liking, appearance, color, aroma, taste, and texture at a high level. The 4 butter recipe has higher brightness, redness, and yellow because of the different proportions of ingredients and the mixing time affects the formation of cookies as for the hardness of the butter cookies in which thesensory quality corresponds to the physical quality. The respondents rated the liking of the butter cookie formula 4 in texture characteristics the most. (2) to study the optimum amount of Perilla seed for supplement in butter cookies at 4 different levels, percent of 5, percent of 10, percent of 15, and percent of 20 of the total weight. It was found that panelists accepted the formula 2, percent of 10, in overall liking, appearance, color, aroma, taste, texture to a high level. Supplementation withn increasing amount of Perilla seed, brightness, red and yellow affect the color value of the sesame cookies. (3) To study the amount of tea seed oil substitutes for butter in different 3 levels of Perilla seed cookies product, which are percent of 40, percent ofm 50, and percent of 60 of the weight of butter. It was found that testers accepted
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. สำนักวิทยบริการและเทคโนโนโลยีสารสนเทศ
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: arit@rmutp.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Email : nomjit.s@rmutp.ac.th
Created: 2562
Issued: 2563-09-22
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: 641.8654 ค136ก
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 HEC_63_15.pdf 7.74 MB28 2025-03-18 10:33:20
ใช้เวลา
0.020636 วินาที

คฑามาศ เข้าเมือง
Title Contributor Type
การใช้น้ำมันเมล็ดชาทดแทนเนยสดในผลิตภัณฑ์คุกกี้งาขี้ม้อน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
คฑามาศ เข้าเมือง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
วิทยานิพนธ์/Thesis
น้อมจิตต์ สุธีบุตร
Title Creator Type and Date Create
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 12
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,291
รวม 2,303 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 180,180 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 4,743 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 733 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 114 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 46 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 25 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 18 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 10 ครั้ง
รวม 185,869 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.198