แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การพัฒนาเทคนิคเอกซเรย์คอมพิวเตดโทโมกราฟีโดยการบันทึกภาพบนฉากเรืองรังสีด้วยกล้องดิจิตอล
Development of X-ray computed tomography technique by using fluoroscopic images recorded with digital camera

ThaSH: คอมพิวเทดโทโมกราฟีย์
ThaSH: กล้องถ่ายรูปดิจิทัล
Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการพัฒนาระบบถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์โดยใช้ฉากเรืองรังสีและพัฒนาเทคนิคการสร้างภาพโทโมกราฟีของชิ้นงาน ระบบบันทึกภาพประกอบด้วยฉากเรืองรังสี กล้องถ่ายภาพดิจิตอล และแท่นวางชิ้นงานที่หมุนได้ การหมุนของแท่นวางชิ้นงานถูกควบคุมโดยสเตปปิงมอเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เขียนด้วย Visual basic 6.0 ในขณะที่การตั้งค่าและการถ่ายภาพของกล้องถ่ายภาพดิจิตอลถูกควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านทางสายยูเอสบี ได้ทำการศึกษาผลของการตั้งค่าต่างๆ ของกล้องถ่ายภาพและของเครื่องกำเนิดรังสีเอกซ์ที่มีต่อคุณภาพของภาพที่ได้ จากนั้นได้ทดสอบชิ้นงาน 6 ชิ้นที่มีองค์ประกอบและลักษณะต่างกัน โดยทำการถ่ายภาพแต่ละชิ้นงานทุกๆ 1.8 องศา รวมทั้งหมด 100 ภาพ เมื่อนำไปสร้างภาพซีทีแล้วพบว่ามีคุณภาพน่าพอใจมาก เวลาที่ใช้ในการถ่ายภาพ และสร้างภาพแต่ละตัวอย่างรวมทั้งสิ้นประมาณ 7 นาที อย่างไรก็ตามสำหรับตัวอย่างที่มีความหนามากและมีความหนาแน่นสูงอาจต้องปรับเปลี่ยนไปขึ้นอยู่กับการตั้งค่าของกล้องถ่ายภาพและของเครื่องกำเนิดรังสีเอกซ์ รวมทั้งชนิดของฉากเรืองรังสี งานวิจัยนี้ชี้ให้เห็นการนำระบบและเทคนิคที่พัฒนาขึ้นไปใช้งานในการตรวจสอบชิ้นงานในอนาคต
Abstract: This research aims to develop an x-ray fluoroscopic system and a data acquisition technique for reconstruction of the computed tomographic (CT) images of test specimens. The image viewing system consisted of a fluorescent screen, a digital camera and a specimen turn table. Rotation of the turn table is controlled by a stepping motor and the developed software written in Visual basic 6.0 while the camera settings and operation are controlled by a computer via USB cable. Factors affecting the image quality are also investigated, including the camera and the x-ray machine settings, to obtain desired image quality. Up to 6 specimens of different materials and having different configurations are tested by taking fluoroscopic image each specimen every 1.8 degrees for a total of 100 images. The obtained CT image quality is found to be very satisfactory. The total processing time for each test specimen is approximately 7 minutes. However, for thicker specimens and specimens containing high density materials the processing time may be adjusted depending on the camera and the x-ray machine settings as well as type of the fluorescent screen. This research indicates future use of the developed system and technique for inspection of specimens.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2561
Modified: 2563-08-10
Issued: 2563-08-10
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61603
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 6070247921[1].pdf 5.49 MB
ใช้เวลา
0.017033 วินาที

พณพณ สาวิโรจน์
สมยศ ศรีสถิตย์
Title Creator Type and Date Create
รายงานการวิจัย การพัฒนาเทคนิคการเก็บข้อมูลแบบรวมภาพสำหรับการถ่ายภาพด้วยรังสีเอ็กซโดยใช้ระบบโทรทัศน์
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
สมยศ ศรีสถิตย์
ประสิทธิ์ สิริทรัพย์รัศมี.
งานวิจัย/Research report
การตรวจสอบเสาคอนกรีตเสริมเหล็กโดยใช้เทคนิคการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัชชาติ สิทธิพันธุ์;สมยศ ศรีสถิตย์
บัณฑิต ลีลัครานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบเก็บข้อมูลโปรไฟล์สำหรับการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีโดยใช้ซีไอเอสแบบแถว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรรถพร ภัทรสุมันต์;สมยศ ศรีสถิตย์
เกรียงไกร ธัญธนนุกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโปรแกรมสำหรับคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีแบบสามมิติในงานอุตสาหกรรม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรรถพร ภัทรสสุมันต์;สมยศ ศรีสถิตย์
วัชร สุขคะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบสแกนสำหรับการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีโดยใช้เทคนิคการกระเจิงของรังสีแกมมา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;อรรถพร ภัทรสุมันต์
รัตติยา คุณากร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประเมินค่าคงที่ของกลุ่มนิวตรอนสำหรับสมการการแพร่หลายกลุ่มพลังงานโดยวิธียุบกลุ่ม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สัญชัย นิลสุวรรณโฆษิต;สมยศ ศรีสถิตย์
รังษี พรเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบสแกนเพื่อการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีด้วยนิวตรอน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;อรรถพร ภัทรสุมันต์
ภาณุพันธุ์ เข็มหนู
วิทยานิพนธ์/Thesis
การหาปริมาณไขมันในเนื้อหมูบดโดยใช้เทคนิคการส่งผ่านเอพิเทอร์มาลนิวตรอน/รังสีแกมมา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นเรศร์ จันทน์ขาว;สมยศ ศรีสถิตย์
สิตา กองคำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบสแกนด้วยรังสีแกมมาเพื่อการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;อรรถพร ภัทรสุมันต์
มงคล วรรณประภา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การปรับเทียบค่าเลขซีทีจากภาพโทโมกราฟีด้วยเทคนิคฟิล์ม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;อรรถพร ภัทรสุมันต์
ฉัตรชัย ชุติรัตนานันท
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบเก็บข้อมูลโปรไฟล์เพื่อการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีด้วยนิวตรอนสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูวิจัย ปปว-1/1
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;อรรถพร ภัทรสุมันต์
ก่อเกียรติ สุขรอด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาต้นกำเนิดรังสีเอกซ์ทุติยภูมิที่กระตุ้นด้วยอะเมริเซียม-241 สำหรับการวิเคราะห์ด้วยวิธีการเรืองรังสีเอกซ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุวิทย์ ปุณณชัยยะ;สมยศ ศรีสถิตย์
พันทิพย์ แสงเชื้อพ่อ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของภาพโทโมกราฟีจากข้อมูลโปรไฟล์ที่เก็บบันทึกโดยแผ่นบันทึกภาพ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;สุวิทย์ ปุณณชัยยะ
มงคล ไร่นุ่น
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อคำนวณความหนาของคอนกรีตสำหรับกำบังรังสีแกมมา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;สมบูรณ์ รัศมี
มูฮำหมัดซู สุหลง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การหาค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของโลหะเงินในเซอร์โคเนียมคาร์ไบต์ในช่วงอุณหภูมิ 1400 °ซ - 1600 °ซ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดุลยพงศ์ วงศ์แสวง;สมยศ ศรีสถิตย์
ฉัตรชัย สัมฤทธิ์ศุภผล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบสแกนด้วยรังสีแกมมาพลังงานต่ำชนิดเคลื่อนย้ายได้สำหรับคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรรถพร ภัทรสุมันต์;สมยศ ศรีสถิตย์
สุรกิจ ขาวแผ้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบเก็บข้อมูลสำหรับการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีด้วยนิวตรอนโดยใช้กล้องมองภาพนิวตรอน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์ ;อรรถพร ภัทรสุมันต์
นารายณ์ รัตนไพโรจน์ขจี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจวัดสัดส่วนเอทานอลแปลงสภาพในน้ำมันแก๊สโซฮอล์ด้วยเทคนิคการส่งผ่านรังสีเอกซ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นเรศร์ จันทน์ขาว;สมยศ ศรีสถิตย์
ธีศิษฏ์ สองเมือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคำนวณความหนาของผนังคอนกรีตสำหรับห้องถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์ในงานอุตสาหกรรม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;นเรศร์ จันทน์ขาว
จุมพฏ จำเนียร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาซอฟท์แวร์คำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีแบบสามมิติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์
เชิงชาย สร้อยเพ็ชร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาฉากเรืองรังสีแกดโดลิเนียมออกซีซัลไฟด์ (เทอร์เบียม) สำหรับการถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์และนิวตรอน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สมยศ ศรีสถิตย์
ชลธิชา กฤษณ์เพ็ชร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาฉากสังกะสีซัลไฟด์(เงิน) เพื่อการถ่ายภาพด้วยนิวตรอน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;ศิริวัฒนา บัญชรเทวกุล
ศศิพันธุ์ ณ สงขลา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโปรแกรมสำเร็จรูปแบบคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟี เพื่อการตรวจสอบชิ้นงานอุตสาหกรรม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์
วัลยา เอี่ยมสุรนันท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การหาปริมาณสารกัมมันตรังสีในปูนซีเมนต์ โดยวิธีแกมมาสเปกโตรเมตรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์ ;นเรศร์ จันทน์ขาว
ตวงพร เอ็งวงษ์ตระกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคำนวณเชิงตัวเลขเพื่อออกแบบเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่สภาวะใต้วิกฤติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สัญชัย นิลสุวรรณโฆษิต;สมยศ ศรีสถิตย์
ไพศาล เติมสินวาณิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบเก็บข้อมูลโพรไฟล์จากภาพถ่ายรังสีบนฟิล์ม สำหรับการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Nivorn Srikoon;อรรถพร ภัทรสุมันต์;สมยศ ศรีสถิตย์
นิวร ศรีคุณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาเทคนิคการส่งผ่านร่วมกับการแผ่รังสีสำหรับคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;อรรถพร ภัทรสุมันต์
เสกสรร สาธุธรรม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบสแกนอ่านค่าความดำรายละเอียดสูงสำหรับการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรรถพร ภัทรสุมันต์;สมยศ ศรีสถิตย์
สุเมธ ทิพยไกรศร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบเก็บข้อมูลด้วยเทคนิคโทรทัศน์ สำหรับคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรรถพร ภัทรสุมันต์;สมยศ ศรีสถิตย์
ธีรวัฒน์ ประกอบผล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวัดอัตราปริมาณรังสีเอกซ์โดยใช้สมาร์ตโฟน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นเรศร์ จันทน์ขาว;สมยศ ศรีสถิตย์
เหนือตะวัน ธำรงสิริภาคย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ระบบวัดรังสีแกมมาหลายหัววัดสำหรับใช้ในการกำหนดตำแหน่งต้นกำเนิดรังสี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;นเรศร์ จันทน์ขาว;สมยศ ศรีสถิตย์
ทศพร พัสดุ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาเทคนิคการถ่ายภาพด้วยรังสีเอกซ์ที่บันทึกภาพโดยใช้กล้องดิจิทัลสำหรับคัดกรองของเหลว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์
นพรัตน์ แก้วใหม่
วิทยานิพนธ์/Thesis
การออกแบบและสร้างเกราะกำบังรังสีสำหรับต้นกำเนิดรังสีแกมมา ซีเซียม-137 ความแรง 5 คูรี เพื่อใช้ในงานถ่ายภาพด้วยรังสี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สมยศ ศรีสถิตย์
วิรุฬห์ ตริสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาเทคนิคเอกซเรย์คอมพิวเตดโทโมกราฟีโดยการบันทึกภาพบนฉากเรืองรังสีด้วยกล้องดิจิตอล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์
พณพณ สาวิโรจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาเทคนิคการเก็บข้อมูลแบบรวมเฟรมสำหรับการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีโดยใช้ระบบโทรทัศน์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรรถพร ภัทรสุมันต์;สมยศ ศรีสถิตย์
ประสิทธิ์ สิริทิพย์รัศมี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโปรแกรมเพื่อคำนวณการจัดการเชื้อเพลิงในแกนปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบสองมิติและสองกลุ่มพลังงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สัญชัย นิลสุวรรณโฆษิต;สมยศ ศรีสถิตย์
ธนรรจน์ แสงจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีด้วยนิวตรอนโดยใช้เทคนิคฟิล์ม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมยศ ศรีสถิตย์;อรรถพร ภัทรสุมันต์
เสมอใจ ศุภรเชาว์
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,552
รวม 2,554 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 101,435 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 41 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 23 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 101,502 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48