แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ความชุกและปัจจัยทางชีวจิตสังคมที่สัมพันธ์กับอาการปวดขมับ ขากรรไกร คอ ของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
The prevalence and biopsychosocial factors associated with temporal, jaw, neck pain in computer users in Chulalongkorn University

ThaSH: ผู้ใช้คอมพิวเตอร์
ThaSH: ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ -- สุขภาพและอนามัย
ThaSH: ปวดคอ
ThaSH: ขากรรไกร -- โรค
ThaSH: โรคเกิดจากอาชีพ
Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความชุกและปัจจัยเสี่ยงทางชีวจิตสังคมของอาการปวดบริเวณขมับ ขากรรไกร คอ และไหล่ในผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในสำนักงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามและวัดค่าแรงกดที่เริ่มรู้สึกเจ็บของกล้ามเนื้อในผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจำนวนทั้งสิ้น 356 คน ผลการศึกษาพบว่า ความชุกของอาการปวดขมับ หน้าหู ขากรรไกร คอ หรือไหล่ในระยะเวลา 12 เดือนที่ผ่านมาเท่ากับร้อยละ 74.7 โดยอาการปวดไหล่มากที่สุด (ร้อยละ 50.8) ตามมาด้วยอาการปวดขมับ (ร้อยละ 48.9) คอ (ร้อยละ 36.0) หน้าหู (ร้อยละ 6.7) และขากรรไกร (ร้อยละ 5.1) ตามลำดับ สำหรับปัจจัยเสี่ยงที่สัมพันธ์กับอาการปวดขมับ หน้าหู คอและไหล่คือ การเล่นกีฬาที่มีการกระทบกระทั่ง การนอนไม่หลับ ระยะเวลาที่ใช้คอมพิวเตอร์มามากกว่า 5 ปี งานเรียกร้องทางกายสูง งานเรียกร้องทางใจสูง ความมั่นคงในงานสูงและแรงกดที่เริ่มรู้สึกเจ็บต่ำที่กล้ามเนื้อแมสซีเตอร์ อินเซอร์ชั่นขวา ในการศึกษานี้ไม่พบปัจจัยที่สัมพันธ์กับอาการปวดขากรรไกร จากการศึกษานี้สามารถสรุปได้ว่าผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีอาการปวดขมับ หน้าหู ขากรรไกร คอ ไหล่ ซึ่งสัมพันธ์กับปัจจัยทางชีวจิตสังคมบางตัวซึ่งควรมีการศึกษาปัจจัยเหล่านี้ต่อไป
Abstract: The objective of this study was to investigate the prevalence and biopsychosocial factors of pain in the temporal, jaw, neck and shoulder regions in computer users of Chulalongkorn university’s office by using a questionnaire and measurement of pressure pain threshold in 356 computer users. The results showed that the annual prevalence of self-reported temporal, frontal ears, jaw, neck and shoulder pain were 74.7%. The region most affected was the shoulder (50.8%) followed by the temporal (48.9%), neck (36.0%), frontal ear (6.7%) and jaw (5.1%). Risk factors associated with pain in the temporal, frontal ears, neck and shoulder were participating in contact sports, insomnia, using computer for more than 5 years, high physical job demand, high psychological job demand, high job security and low pressure pain threshold at right insertion of masseter muscle. No risk factor associated with jaw pain was found. It can be concluded from this study that temporal, jaw, neck and shoulder pain in computer users of Chulalongkorn university’s office was prevalent and the symptoms were associated with some biopsychosocial factor, which should be included in further study.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2554
Modified: 2563-07-09
Issued: 2563-07-09
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52554
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 sudathip_ru.pdf 2.32 MB5 2024-09-02 01:21:40
ใช้เวลา
0.024447 วินาที

สุขนิภา วงศ์ทองศรี
Title Creator Type and Date Create
ประสิทธิผลของการให้สุขศึกษาโดยใช้สื่อบุคคลเปรียบเทียบกับสื่อแบบผสมผสาน ต่อความร่วมมือในการประคบอุ่นของผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อบดเคี้ยว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุขนิภา วงศ์ทองศรี
ภัทริยาภรณ์ บุญญวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของเฝือกสบฟันเสถียรต่อระยะเวลาสบแยกในผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อบดเคี้ยว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุขนิภา วงศ์ทองศรี ;วไลกัญญา พลาศรัย
อมรรัตน์ โลหกรรมาชีพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความร่วมมือระยะสั้นและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการใส่เฝือกสบฟันชนิดเสถียรของผู้ป่วยเท็มโพโรแมนดิบิวลาร์ดิสออเดอร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุขนิภา วงศ์ทองศรี
สิริยา ผกานิมิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความชุกและปัจจัยทางชีวจิตสังคมที่สัมพันธ์กับอาการปวดขมับ ขากรรไกร คอ ของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุขนิภา วงศ์ทองศรี;ประวิตร เจนวรรธนะกุล
สุดาทิพย์ รวยดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ประวิตร เจนวรรธนะกุล
Title Creator Type and Date Create
ผลของการฝึกความมั่นคงของลำตัวที่มีต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังส่วนล่างและความสามารถในการว่ายน้ำท่าครอว์ลในนักกีฬาว่ายน้ำเยาวชนชาย.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชนินทร์ชัย อินทิราภรณ์;ประวิตร เจนวรรธนะกุล
พลากร นัคราบัณฑิต
วิทยานิพนธ์/Thesis
การทำนายระยะห่างในแนวระดับของขอบด้านในกระดูกสะบักขณะอยู่นิ่งกับกระดูกสันหลังระดับอก
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวิตร เจนวรรธนะกุล;จงจินตน์ รัตนาภินันท์ชัย;ชวินทร์ เลิศศรีมงคล
บุษบา ฉั่วตระกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการออกกำลังกายท่าฤาษีดัดตนที่มีต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความอ่อนตัวในผู้หญิงวัยทำงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิชิต คนึงสุขเกษม;ประวิตร เจนวรรธนะกุล
นิภาพร เหล่าชา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาวิธีการและเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อวัดความอ่อนตัวสำหรับผู้สูงวัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อารีรัตน์ สุพุทธิธาดา;ประวิตร เจนวรรธนะกุล;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ทศพล ทองเติม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการปรับพฤติกรรมทางปัญญาที่มีต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักกีฬาเทนนิส
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศิลปชัย สุวรรณธาดา;ประวิตร เจนวรรธนะกุล
พิเชษฐ์ ชัยเลิศ
วิทยานิพนธ์/Thesis
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพในการปฏิบัติกิจกรรมและการนำไปใช้คัดกรองความเสี่ยงในการล้มและภาวะพึ่งพาในผู้สูงวัยไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์;อารีรัตน์ สุพุทธิธาดา;ประวิตร เจนวรรธนะกุล
เตชภณ ทองเติม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบการวิเคราะห์สมรรถนะในกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด สำหรับนักกีฬาชาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;ประวิตร เจนวรรธนะกุล
ก.รวีวุฒิ ระงับเหตุ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความชุกและปัจจัยทางชีวจิตสังคมที่สัมพันธ์กับอาการปวดขมับ ขากรรไกร คอ ของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุขนิภา วงศ์ทองศรี;ประวิตร เจนวรรธนะกุล
สุดาทิพย์ รวยดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 15
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,796
รวม 2,811 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 61,674 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 64 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 16 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 8 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 4 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 61,768 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48