แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Determinants of foreign direct investment and its effects on trade and economic growth in Vietnam
ปัจจัยกำหนดการลงทุนระหว่างประเทศและผลกระทบต่อการค้าและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม

LCSH: Investments, Foreign -- Vietnam.
LCSH: Economic development -- Vietnam.
LCSH: Capital movements -- Vietnam.
LCSH: Vietnam -- Economic conditions.
Abstract: Vietnam's phenomenal economic development has coincided with a substantial increase in FDI inflows and hence led researchers, including the author, to believe that increased inflows of FDI into Vietnam have had important implications for the country's trade and economic expansion over the past decades. This dissertation investigates factors determining foreign direct investment (FDI) inflows and the effects of FDI inflows on economic growth and trade in Vietnam and its different regions over the 1993-2006 period. The study reveals that wages, income per capita, GDP growth and accumulated FDI stock as well as openness to trade and special economic zones are important factors attracting FDI inflows into Vietnam. Human capital has not yet been a significant factor determining FDI inflows because FDI activities in Vietnam are mainly in labor-intensive industries in which a large number of skilled labor is not yet required. The existing physical infrastructure in Vietnam does not help attract FDI inflows either and this implies that an improvement in its quality is needed. Economic growth and FDI in Vietnam have a positively significant relationship. The beneficial effect on growth of FDI comes from stock of foreign capital that has been accumulated over the years. At the regional level, higher capital flow of foreign direct investmentis a major factor stimulating economic growth in the Northern region. The flow of superior technologies transferring from FDI firms can also help to increase the growth rate of the Central region by interacting with the region's open trade regime. The contribution of FDI to economic growth in the Southeastern region is explained by both foreign capital accumulation and new technologies and knowledge transferred from FDI enterprises through human capital. In all regions, inward FDI has a complementary relationship with Vietnam's exports, imports and total trade, implying that the FDIs are mostly of the vertical type. However, the patterns of the FDI-trade relationships between Vietnam and different partner countries show variations. To attract more FDI inflow into Vietnam and sustain the economic development, Vietnam has to improve the country's income per capita, GDP growth rate and trade openness. The Vietnamese government needs to pay more attention to improved quality of human capital, physical infrastructure as well as putting effect to enhance the investment environment in order to attract FDI inflows into a more tecnology-intensive line of production in the future.
Abstract: ปรากฏการณ์การพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศเวียดนามซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกันกับการไหลเข้าของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศจำนวนมาก ทำให้นักวิจัยหลายคน รวมทั้งผู้ศึกษาเองเชื่อว่า การลงทุนจากต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นนั้น เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การค้าและเศรษฐกิจของประเทศเวียดนามขยายตัวในหลายทศวรรษที่ผ่านมา วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาถึงปัจจัยต่างๆที่กำหนดการไหลเข้าของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และผลกระทบของการไหลเข้าของการลงทุนดังกล่าวต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการค้า ทั้งในระดับประเทศและในระดับภาคต่างๆ ของประเทศเวียดนาม ระหว่างปี พ.ศ. 2536 และ พ.ศ. 2549 การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า ค่าจ้าง รายได้ต่อคน อัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ปริมาณการลงทุนสะสมจากต่างประเทศ การเปิดตลาดการค้า ตลอดจนเขตเศรษฐกิจพิเศษ ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศให้ไหลเข้าในประเทศเวียดนาม สำหรับทุนมนุษย์นั้น พบว่ายังไม่เป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ เนื่องจากการลงทุนจากต่างประเทศส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมที่เน้นแรงงานเป็นหลัก แรงงานที่มีทักษะจำนวนมากจึงยังไม่เป็นที่ต้องการเท่าใดนัก ระบบสาธารณูปโภคในประเทศก็มิได้ช่วยดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศแต่อย่างใด ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าระบบสาธารณูปโภคยังต้องพัฒนาคุณภาพอีกมาก การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุนจากต่างประเทศในประเทศเวียดนามมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีส่วนผลักดันให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากการลงทุนดังกล่าวช่วยเพิ่มการสะสมของทุนให้สูงขึ้น เมื่อพิจารณาในระดับภูมิภาคแล้ว พบว่า การไหลเข้าของการลงทุนจากต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น เป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลให้ภาคเหนือมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ในภาคกลางนั้น การถ่ายทอดเทคโนโลยีขั้นสูงจากบริษัทต่างประเทศที่เข้ามาลงทุนโดยตรง สามารถเพิ่มอั้ตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจได้โดยผ่านการเปิดตลาดการค้าเสรี ส่วนในภาคตะวันออกเฉียงใต้ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยช่วยเพิ่มทุนสะสมจากต่างประเทศ และการถ่ายทอดเทคโนโลยีและความรู้ใหม่ๆ ของบริษัทต่างประเทศให้กับทุนมนุษย์ ซึ่งเมื่อพิจารณาทุกภาคแล้วพบว่า การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศช่วยส่งเสริมการส่งออก การนำเข้า และปริมาณการค้าโดยรวมของประเทศเวียดนาม แสดงให้เห็นว่าการลงทุนดังกล่าวเป็นไปในลักษณะที่เป็นแนวตั้งซึ่งการค้าและการลงทุนจากต่างประเทศต่างเป็นปัจจัยเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน อย่างไรก็ดี ความสัมพันธ์ทางการค้าและการลงทุนจากต่างประเทศระหว่างประเทศเวียดนามและกลุ่มคู่ค้าต่างๆ ก็แตกต่างกันออกไปอย่างชัดเจน การศึกษานี้เสนอแนะว่า เพื่อจะดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศให้ไหลสู่ประเทศเวียดนามมากขึ้น และรักษาระดับการพัฒนาของประเทศไว้ได้ ประเทศเวียดนามควรใช้นโยบายส่งเสริมการเพิ่มขึ้นของรายได้ต่อคน อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการเปิดเสรีทางการค้าให้มากขึ้น รัฐบาลควรให้ความสำคัญต่อการเพิ่มคุณภาพของทุนมนุษย์และสิ่งสาธารณูปโภคต่างๆ รวมทั้งการสร้างบรรยากาศที่เอื้ออำนวยต่อการลงทุน เพื่อให้การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในอนาคต เป็นไปในทิศทางที่เน้นการผลิตสินค้าที่มีระดับเทคโนโลยีสูงขึ้น
Chulalongkorn University. Office of Academic Resources
Address: BANGKOK
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: advisor
Role: advisor
Created: 2008
Modified: 2020-03-22
Issued: 2020-03-22
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56535
eng
Descipline: Economics
©copyrights Chulalongkorn University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Hoang, Thu Thi.pdf 1.06 MB18 2023-03-12 21:57:02
ใช้เวลา
0.017218 วินาที

Hoang, Thu Thi
Title Contributor Type
Determinants of foreign direct investment and its effects on trade and economic growth in Vietnam
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Hoang, Thu Thi

Paitoon Wiboonchutikula
Bangorn Tubtimtong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Paitoon Wiboonchutikula
Title Creator Type and Date Create
AFTA's effects on international trade
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Paitoon Wiboonchutikula
Clarke, Daniel
วิทยานิพนธ์/Thesis
Measuring potential trade flows for two emerging economies : the case of Mexico and Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Paitoon Wiboonchutikula
Indra Fuillermo Eckstein Fernandez
วิทยานิพนธ์/Thesis
Comparative study of macroeconomic impact of FDI in selected East Asian countries
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Bangorn Tubtimtong;Paitoon Wiboonchutikula
Polpat Kotrajaras
วิทยานิพนธ์/Thesis
ANALYSIS OF PERFORMANCE OF FOREIGN-INVESTED FIRMS AND THE IMPACTS ON DOMESTIC FIRMS AND INDUSTRIES IN THAILAND
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Paitoon Wiboonchutikula;Bangorn Tubtimtong
Chayanon Phucharoen
วิทยานิพนธ์/Thesis
Impact of foreign exchange policies of Asian countries on the world economy
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Paitoon Wiboonchutikula;Bangorn Tubtimtong
Nuchit Pruektanakul
วิทยานิพนธ์/Thesis
Measuring Potential Trade Flows for two Emerging Economies : the case of Mexico and Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Paitoon Wiboonchutikula
Fernandez, Indra Guillermo Eckstein
วิทยานิพนธ์/Thesis
DETERMINANTS OF INWARD FOREIGN DIRECT INVESTMENT FROM CHINA, SOUTH KOREA AND JAPAN AND ITS CONTRIBUTION TO ECONOMIC GROWTH IN CAMBODIA
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Paitoon Wiboonchutikula
Puthi Phan Kan
วิทยานิพนธ์/Thesis
Determinants of foreign direct investment and its effects on trade and economic growth in Vietnam
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Paitoon Wiboonchutikula;Bangorn Tubtimtong
Hoang, Thu Thi
วิทยานิพนธ์/Thesis
Impact of Trade and FDI Openness on Wages in the Manufacturing Sector in China
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Pituwan Poramapojn;Paitoon Wiboonchutikula
Qianyi Chen
วิทยานิพนธ์/Thesis
Role of Global Production Networks on Development of Automotive Industry in selected ASEAN countries
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Paitoon Wiboonchutikula
Wachara Jongkraijak
วิทยานิพนธ์/Thesis
Trade as a factor of productivity growth in Thailand's agricultural sector
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Paitoon Wiboonchutikula
Riggs, Michael B.
วิทยานิพนธ์/Thesis
Foreign trade flow and the trade potential of Bhutan
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Paitoon Wiboonchutikula
Bhuti, Lhakpa
วิทยานิพนธ์/Thesis
Bangorn Tubtimtong
Title Creator Type and Date Create
Test efficiency in the FOREX market using FRU and UIP : VAR methodology
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Bangorn Tubtimtong
Sudatip Pruettiangkura
วิทยานิพนธ์/Thesis
Flexible exchange rate, prices, and the role of "news": a case study of Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Bangorn Tubtimtong
Piyaporn Klinboon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Comparative study of macroeconomic impact of FDI in selected East Asian countries
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Bangorn Tubtimtong;Paitoon Wiboonchutikula
Polpat Kotrajaras
วิทยานิพนธ์/Thesis
ANALYSIS OF PERFORMANCE OF FOREIGN-INVESTED FIRMS AND THE IMPACTS ON DOMESTIC FIRMS AND INDUSTRIES IN THAILAND
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Paitoon Wiboonchutikula;Bangorn Tubtimtong
Chayanon Phucharoen
วิทยานิพนธ์/Thesis
Impact of foreign exchange policies of Asian countries on the world economy
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Paitoon Wiboonchutikula;Bangorn Tubtimtong
Nuchit Pruektanakul
วิทยานิพนธ์/Thesis
Determinants of foreign direct investment and its effects on trade and economic growth in Vietnam
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Paitoon Wiboonchutikula;Bangorn Tubtimtong
Hoang, Thu Thi
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 9
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,830
รวม 2,839 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 68,951 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 41 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 16 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 7 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 69,018 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48