แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ไขปัญหาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ระหว่างการสอนเชิงทดลองแบบสืบสวนสอบสวนและแบบปกติ
A Comparative Study of Scientific Approaches to Problem Solving Ability Achieved from Investigation and from Conventional instrUctions

Organization : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า

Organization : King Mongkut's University of Technology Thonburi. Industrial Education and Technology. Electrical Technology Education
keyword: ใบทดลองแบบสืบสวนสอบสวน
; ใบทดลองแบบปกติ
; Investigation Laboratory
; Conventional Laboratory
Abstract: จุดหมายหลักของการวิจัยนี้ คือ การศึกษาการเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาซึ่งเรียนรู้ได้จากใบงานทดลองที่สร้างขึ้นตามกระบวนการสืบสวนสอบสวน และจากใบงานแบบปกติ ทั้งนี้ด้วยสมมติฐานที่ว่า ใบงานทดลองแบบสืบสวนสอบสวนนั้นสามารถพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาได้ดีกว่าแบบปกติ การพิสูจน์สมมติฐาน นี้ได้ดำเนินงานหลายขั้นตอน เริ่มจากการสร้างแบบประเมินความสามารถที่เหมาะสม และได้ทำการทดลองกับนักศึกษา 46 คน ด้วยวิธีการแบบ Non-Randomized Control Group-Posttes Design กิจกรรมสำคัญของงานนี้ คือการสร้างใบงานทดลองทั้ง 2 ประเภท ภายใต้เนื้อหาเดียวกันแต่มีโครงสร้างการทดลองที่ต่างกัน ผู้วิจัยได้อาศัยเกณฑ์เลือกเนื้อหาที่เหมาะสมกับงานสืบสวน ทำการสำรวจและคัดเลือกใบงานทดลองเดิมที่สามารถสร้างการทดลองได้ทั้งสองประเภท ได้พบใบงานเกี่ยวกับการหาคุณสมบัติของ R และ L การหาขั้วหม้อแปลงไฟฟ้า และการหา Vector Group ได้ปรับปรุงใบงานที่คัดเลือกเพียงบางส่วนให้เป็ใบงานปกติที่สะดวกในการหาข้อมูลสำหรับการวิจัย และได้นำเนื้อหาดังกล่าวมาพัฒนาใบงานตามหลักการของการสร้างใบงานทดลองแบบสืบสวน สอบสวนอันประกอบด้วย การวิเคราะห์งาน การจัดสถานกาารณ์ การกำหนดจุดทดลอง เพื่อช่วยพัฒนาความสามารถในการสืบสวนสอบสวน และการสร้างคำถามท้ายใบงานนอกจากนี้ได้มีการสร้าง แบบสังเกตการปฏิบัติงานควบคู่กับใบงานด้วย ใบงานทดลองทั้ง 2 ประเภทและแบบสังเกตที่ได้สร้างขึ้นนี้ ได้รับการเห็นชอบในด้านหลักการและความเหมาะสมในการทดลองเป็นเอกฉันท์จากผู้เชี่ยวชาญ ผู้วิจัยได้สร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ด้วยการสร้างคำถามจากสถานการณ์ที่กำหนดขึ้น ตามหลักการของการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอนอันประกอบด้วย ขั้นพิจารณาปัญหา ขั้นตั้งสมมติฐาน ขั้นพิสูจน์สมมติฐาน และขั้นสรุปผลรวมคำถามที่สร้างขึ้นทั้งสิ้น 84 ข้อ แบ่งใช้เป็นบททดสอบก่อนเรียน 8 สถานการณ์ 32 คำถาม และแบบทดสอบหลังเรียน 13 สถานการณ์ 52 คำถาม จากการวิเคราะห์ พบว่า แบบทดสอบมีค่าความยากง่ายเฉลี่ย 0.57 ค่าอำนาจจำแนกเฉลี่ย 0.36 ค่าความเชื่อมั่น (KR-21) 0.75 แบบทดสอบนี้ได้ถูกนำไปใช้แบ่งกลุ่มนักศึกษาตามผลสัมฤทธิ์ในการเรียนสูง ปานกลาง และต่ำหลังเรียน ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมืที่พัฒนาขึ้นกับนักศึกษากลุ่มการทดลอง 24 คน กลุ่มควบคุม 22 คน โดยให้นักศึกษาปฏิบัติตามคำสั่งของใบงานที่จัดให้ทั้งสองประเภท มีการบันทึกตรวจสอบการปฏิบัติงานใน ด้านการวางแผน การใช้เครื่องมื การแก้ไขปัญหา และความละเอียดรอบคอบในการดำเนินการ ในทุกช่วงเวลา 10 นาที ผลของการทดลองปรากฎว่า กลุ่มที่ใช้ใบงานทดลองแบบสืบสวนพัฒนาความสามารถ ในการแก้ปัญหาได้สูงกว่ากลุ่มที่ใช้งานปกติ โดยมีนัยสำคัญของความแตกต่างทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตรงตามสมมตฐานที่ตั้งไว้ การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาของกลุ่มนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ก่อนเรียนสูง ปานกลาง และต่ำ พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ การเปรียบเทียบความสามารถที่เกิดขึ้นภายในกลุ่ม พบว่านักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนต่ำกลุ่มที่เรียนด้วยใบงานทดลองแบบสืบสวนสอบสวน มีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ดีกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยใบงายแบบปกติ แต่ไม่สมารถสรุปความแตกต่างของความสมารถในการแก้ปัญหาของกลุ่ที่มีผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนในระดับปานกลาง และสูง ผลการสังเกตกลุ่มที่เรียนด้วยการสอน เชิงทดลองแบบสืบสวน พบว่า นักศึกษามีความกระตืรืร้นสูงในการทดลอง การทำงานเป็นกลุ่ม การค้นคว้าหาความรู้ และการยอมรับความคิดเห็นจากผู้อื่น
Abstract: The essence of this research was to study the differences in problem-solving ability achieved from Conventional and from Investigative Laboratory instruction. The researcher believed that the investigative laboratory approach would yield higher problemsolving abilities than the Conventional one. In order to prove this hypothesis, the researcher designed experimental research with 46 technical College students comprising a controll and an experimental group. Both groups were assigned to study the same contextual information in the different experimental methodologies. The development of these two laboratory types was an essential task for the study. The sheets were constructed from the same contextual information using different experimental strategies. Using investigative content criteria, laboratory sheets currently used in the region were surveyed. Three content topics, namely, characteristic of R and L, Polarity testing and Vector grouping of a transformer, were found form three laboratory sheets. The surveyed Laboratories were slightly modified to suit the research purpose and were treated as the conventional experiment in the controll group. With the same contextual information, three investigative laboratories were developed. Task analyses were performed, and sets of situation were created to provide an investigative process. Observation sheets were also constructed to measure the practical performance. Laboratory and observation sheets were unanimously approved by five content experts. A test-set employing principles of situation creation and questioning techniques was developed to evaluate the problem-solving perfonnance. Four problem-solving steps including problem-sensing, hypolhesis setting, hypolhesis verifying and solution concluding were employed in the development. The test comprised 84 question items developed from 21 situations. Eight situations with 32 question items were used for pre-test and 52 questions from II situations were used for post test. From item analysis, the tests were found to have lhe following average indexes: 0.57 difficulty, 0.36 discrimination, 0.75 reliability. The tests , were primarily used in classifying students learning achievements: high, moderate, low and later in determining the students problem-solving abilities after learning from the laboratory. The laboratory sheets and lhe tests developed were used with two randomly assigned groups of student. A controll group of 22 students was placed to work wilh the three conventional laboratories. The experimental group of 24 students worked with the three investigative laboratories. Observation using observation sheets was made every 10 minutes to monitor lhe perfonnance of instrument handling, problem-solving abilities and experimental procedures. The post-test was conducted with both contrail and experimental groups. Scores were collected and calculated using SPSS statistical analysis. Overall, it was found that the investigative experiment yielded higher problem-solving abilities (p < 0.05) than the conventional one. As a hypothesis set, the study showed a statistical significant difference. In detailed study, the scores comparing among the three classified levels indicated that the low achievment students received better improvement than the olher two. No significant difference in the improvement was found in other areas. However, the observation revealed the fact that lhe investigative laboratory process created more enlhusiasm in team working and more discovery learning.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: info.lib@mail.kmutt.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Role: Advisor
Role: Advisor
Created: 2540
Modified: 2554-04-06
Issued: 2551-11-18
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
ISBN: 9746240242
CallNumber: ETE271
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 ETE271.pdf 2.56 MB339 2025-03-24 09:24:11
2 ETE271ab.pdf 143.21 KB177 2023-01-22 23:29:03
3 ETE271abth.txt 3.27 KB198 2023-01-22 23:29:28
4 ETE271aben.txt 3.96 KB102 2023-01-22 23:29:41
ใช้เวลา
0.071406 วินาที

เพราพรรณ เปลี่ยนภู่
Title Creator Type and Date Create
การพัฒนาแบบประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพการสอนหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สุรพันธ์ ตันศรีวงษ์;เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;มงคล หวังสถิตย์วงษ์
ณรงค์ มั่งคั่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาทัศนคติในเรื่องการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของผู้บริหารสถานศึกษาและอาจารย์ผู้สอนในระดับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;นงนุช ภัทราคร
วราวุฒิ สว่างวิทย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาใบงานทดลอง (Laboratory Sheet) วิชาวงจรไฟฟ้าเรื่องรีโซแนนช์ในวงจร R-L-C
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สุมาลี จันทร์ชลอ;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่ ;เพราพรรณ เปลี่ยนภู่
สุนทร นพวิง
Suntorn Nopving
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาแบบทดสอบภาคปฏิบัติงานควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่
เติมศักดิ์ ปิ่นสวาสดิ์
Termsak Pinsawad
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างเกณฑ์ประเมินผลการฝึกงานในสถานประกอบการของนักศึกษา สาขาวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิค 4 จังหวัด ภาคเหนือ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่ ;อุดมศักดิ์ ยั่งยืน
อนุสรณ์ ชำนาญศิลป์
Anusorn Chamnansilpa
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการประเมินผลวิชาโครงงานตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2536
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
กัลยาณี จิตต์การุณย์;เพราพรรณ เปลี่ยนภู่
ปกาสิต สุทธิเวทย์
Pakasit Suttiwait
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาโดยใช้ใบงานแบบแก้ปัญหาเรื่องทรานซิสเตอร์สวิตช์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่
อดุลย์ สายประสิทธิโชค
Adool Saiprasittichoke
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาแบบทดสอบการปฏิบัติการทดลองซิงโครนัสเยนเนอเรเตอร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่
อัฐวิจักขณ์ เดชบำรุง
Attawijuk Dechbumroong
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบสอนซ่อมเสริมเรื่อง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่
นพนันท์ คล้อยสวาท
Noppanan Kloysawat
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาแบบสอบภาคปฏิบัติการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่
ปรีชา เขียวจันทร์แสง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนเรื่องการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ตามแนวคิดของทฤษฏีคอนสตรัคติวิสท์และการเรียนแบบร่วมมือ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่
มยุรี แก้วพันธ์
Mayuree Kaewpan
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการสอนแก้ปัญหาเรื่องการถ่ายทอดกำลังไฟฟ้าในมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส ตามหลักการของการใช้ปัญหาเป็นศูนย์กลาง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่;เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;ชยันต์ คุ้มภัย
สมศักดิ์ แก้วพันธ์
Somsak Kaewpan
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างการสอนด้วยรูปแบบการสอนความคิดรวบยอดและหลักการกับการสอนปกติในเรื่อง กำลังไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่;วชิระ สุขมหา
ณัฐพงษ์ อินทรสุข
Nuttapong Intarasuk
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ไขปัญหาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ระหว่างการสอนเชิงทดลองแบบสืบสวนสอบสวนและแบบปกติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่;Praophan Plienpoo;Choosak Plienpoo
สมควร เทียมมล
Somkhuan Thiammol
วิทยานิพนธ์/Thesis
ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่
Title Creator Type and Date Create
การพัฒนาเครื่องมือวัดผลภาคปฏิบัติวิชาเครื่องปรับอากาศอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สุมาลี จันทร์ชลอ;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่;จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ
คงฤทธิ์ พานิชพันธ์
Kongrid Panichpan
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการสอนแก้ปัญหาเรื่องการถ่ายทอดกำลังไฟฟ้าในมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส ตามหลักการของการใช้ปัญหาเป็นศูนย์กลาง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่;เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;ชยันต์ คุ้มภัย
สมศักดิ์ แก้วพันธ์
Somsak Kaewpan
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ไขปัญหาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ระหว่างการสอนเชิงทดลองแบบสืบสวนสอบสวนและแบบปกติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่;Praophan Plienpoo;Choosak Plienpoo
สมควร เทียมมล
Somkhuan Thiammol
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาแบบทดสอบการปฏิบัติการทดลองซิงโครนัสเยนเนอเรเตอร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่;สัมพันธ์ หาญชเล;Praophan Plienpoo;Choosak Plienpoo;Samphant Hanchalay
อัฐวิจักขณ์ เดชบำรุง
Attawijuk Dechbumroong
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการสอนความคิดรวบยอดและหลักการวิชาวงจรไฟฟ้า 2
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่
วชิระ สุขมหา
วิทยานิพนธ์/Thesis
Praophan Plienpoo
Title Creator Type and Date Create
การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ไขปัญหาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ระหว่างการสอนเชิงทดลองแบบสืบสวนสอบสวนและแบบปกติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่;Praophan Plienpoo;Choosak Plienpoo
สมควร เทียมมล
Somkhuan Thiammol
วิทยานิพนธ์/Thesis
Choosak Plienpoo
Title Creator Type and Date Create
การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ไขปัญหาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ระหว่างการสอนเชิงทดลองแบบสืบสวนสอบสวนและแบบปกติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เพราพรรณ เปลี่ยนภู่;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่;Praophan Plienpoo;Choosak Plienpoo
สมควร เทียมมล
Somkhuan Thiammol
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลปฏิบัติการทดลองเรื่อง หม้อแปลงไฟฟ้า
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สุมาลี จันทร์ชลอ ;ชูศักดิ์ เปลี่ยนภู่;Sumalee Chanchalor;Choosak Plienpoo
รุจพงศ์ ฉลานุวัฒน์
Rujapong Chalanuwat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 10
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,616
รวม 2,626 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 211,847 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 681 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 551 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 49 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 43 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 24 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 4 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 213,205 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48