แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

แนวทางการจัดวางกลุ่มอาคารเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนกรณีศึกษาศูนย์กลางธุรกิจและพาณิชยกรรม สีลม-สาทร
Building Grouping Lay Out in Low Carbon Urban Design Guideline forCentral Business District (Silom-Sathorn)

Abstract: ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกสาเหตุสำคัญมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกหรือคาร์บอนจากกิจกรรมของมนุษย์ ในกรุงเทพมหานครมีสัดส่วนของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มากที่สุดจากการใช้พลังงานในอาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยเฉพาะบริเวณย่านศูนย์กลางธุรกิจและพาณิชยกรรมสีลม-สาทร ซึ่งเป็นย่านที่มีบทบาทความสำคัญระดับประเทศและมีความต้องการการใช้พลังงานในลำดับต้นๆ ของกรุงเทพฯ การใช้พลังงานในอาคารส่วนใหญ่มาจากการใช้พลังงานในการทำความเย็นของระบบปรับอากาศถึงร้อยละ 60 ของพลังงานในอาคารทั้งหมด เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้น จึงส่งผลให้อาคารได้รับอุณหภูมิความร้อนจากแสงอาทิตย์ การใช้พลังงานในการทำความเย็นของระบบปรับอากาศจึงสูงขึ้นตามไปด้วย งานวิจัยมุ่งเน้นศึกษาการลดการใช้พลังงานในอาคารอันเป็นสาเหตุของการปล่อยคาร์บอนของกรุงเทพฯ โดยการจัดวางกลุ่มอาคารจากข้อได้เปรียบของอาคารสูงในย่านสีลม-สาทร ที่สามารถให้พื้นที่ร่มเงากับอาคารบริเวณใกล้เคียงได้ และศึกษาถึงลักษณะกายภาพของอาคารต่อประสิทธิภาพการลดการใช้พลังงานในอาคาร อาทิ รูปทรง ตำแหน่งที่ตั้ง ความสูง และระยะห่างระหว่างอาคาร เพื่อเสนอแนวทางการจัดวางกลุ่มอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน (%SAVE) และลดการปล่อยคาร์บอน (SAVE-CO2e) จากการคำนวณด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Google Sketchup Pro 8 ร่วมกับ Openstudio 1.0.10 และ EnergyPlus 8.0 ผลการศึกษาพบว่า การจัดวางกลุ่มอาคารที่คำนึงถึงผลกระทบของเงาอาคารข้างเคียงสามารถประหยัดพลังงานและลดการปล่อยคาร์บอนของอาคารลงได้เฉลี่ยร้อยละ 6 ทั้งนี้ ผลกระทบของเงาอาคารสามารถลดการใช้พลังงานในการทำความเย็นของระบบปรับอากาศได้มาก ในขณะเดียวกันค่าการใช้พลังงานของระบบส่องสว่างจะสูงขึ้นเล็กน้อย นอกจากนี้ การจัดวางกลุ่มอาคารเพื่อผลต่อการประหยัดพลังงานและลดการปล่อยคาร์บอนควรคำนึงถึงตำแหน่งที่ตั้งของอาคารเป็นอันดับแรก และจึงพิจารณาถึงรูปทรง ความสูง และระยะห่างระหว่างอาคารซึ่งขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่ตั้งอาคารนั้นๆ อย่างไรก็ตาม ในย่านศูนย์กลางธุรกิจและพาณิชยกรรมสีลม-สาทร มีข้อจำกัดในด้านกายภาพและกฎหมายต่างๆ อาทิ แปลงที่ดินขนาดเล็ก ความกว้างของเขตทางที่แคบ และติดระยะถอยร่น เป็นต้น ทำให้ไม่สามารถจัดวางกลุ่มอาคารตามแนวทางของงานวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะฉะนั้นก่อนการจัดวางกลุ่มอาคาร ควรมีการปรับปรุงกายภาพของพื้นที่ศึกษาให้มีขนาดแปลงที่ดินที่เหมาะสม การเพิ่มโครงข่ายการสัญจร และขนาดเขตทางที่เพียงพอเพื่อให้สามารถรองรับการพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Abstract: Global climate change is generally a cause of greenhouse gas & carbon dioxide emissions due to certain forms of human activity. Energy consumption in buildings and its constructions represent the majority of emissions in Bangkok city, especially Silom-Sathorn, the central business district (CBD) that is relatively considered the most crucial area in Thailand in term of economic development. Nearly 60% of overall building energy consumption was consumed by the cooling system. As Thailand is located in the tropical area, urban structures are inevitably experiencing higher concentration of heat, the air-conditioning system would consume more electric power accordingly. This study aims to identify possible alternatives in reducing energy consumption, which is the main determinant of CO2 emission, by developing massing and building cluster in Silom-Sathorn district and to understand the relation between building’s physical attributes and the efficiency of energy consumption reduction, for example; shape, orientation, height, distance between buildings, in order to suggest urban design guidelines for energy saving (%SAVE) and CO2 reduction (SAVE-CO2e), using computer programs, such as Google SketchUp Pro 8, Openstudio 1.0.10 and EnergyPlus 8.0. The result shows that a well-designed building cluster, concerning energy-saving efficiency caused by shadow, reduces approximately 6% of energy consumption and CO2 emission rate. Shadow caused by the buildings greatly decreases the energy consumption from cooling system, whereas an electric power consumption from lighting rises very slightly. The study also indicates that the top priority shall be given to the orientation of buildings and then considering shapes, building heights and distance between buildings, respectively. Speaking of the study area, CBD has several legal restrictions, including limited sizes of land & public road and setback regulation. These complications will deter an implementation of the study. Due to the aforementioned difficulties, promoting land readjustment scheme, improving vehicular connectivity and providing adequate roads with appropriate width should be determined before applying urban design guidelines to the specific area.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2559
Modified: 2562-09-04
Issued: 2562-09-04
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58497
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 5973321725[1].pdf 10.07 MB5 2025-03-02 19:07:16
ใช้เวลา
0.024056 วินาที

จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
Title Creator Type and Date Create
การปรับปรุงพื้นที่สาธารณะและเส้นทางเชื่อมต่อบริเวณถนนทรงวาด เขตสัมพันธวงศ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
กีรติ สัทธานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การฟื้นฟูย่านตลาดพระโขนง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิลุบล คล่องเวสสะ;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
พรนภา พรพันธุ์ไพบูลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นที่ บริเวณสถานีรถไฟฟ้า บีทีเอสราชเทวี และย่านพาณิชยกรรมประตูน้ำ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อังสนา บุณโยภาส;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ

วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาบริเวณโดยรอบจุดเชื่อมต่อศูนย์กลางระบบขนส่งมวลชนร่วมมักกะสัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พนิต ภู่จินดา;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ชณัฐ กาญจนะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการฟื้นฟูย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมืองเพื่อสร้างความหลากหลายกรณีศึกษา พื้นที่สีลม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
อนาวิล เจียมประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณสถานีรถไฟฟ้า บีทีเอส ราชเทวี และย่านพาณิชยกรรมประตูน้ำ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อังสนา บุณโยภาส ;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
พรสิริ สายด้วง
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาพื้นที่ย่านตลาดพระโขนงและตลาดอ่อนนุช กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ; จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
นเรศ ทองงามขำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการปรับปรุงพื้นที่ชุมชนกุนนทีและพื้นที่ต่อเนื่องกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;นพนันท์ ตาปนานนท์;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ทวีศักดิ์ เอื้อเฟื้อ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบเพื่อปรับปรุงพื้นที่สาธารณะบริเวณตลาดเก่าเยาวราช
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ชัยยศ จิตเอกวิโรจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาพื้นที่ท่าเรือประตูน้ำและพื้นที่ต่อเนื่อง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย ;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
เพกา เสนาะเมือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารและพื้นที่โดยรอบ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
วิรุจ ถิ่นนคร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่พาณิชยกรรมบริเวณตลาดปากน้ำโพจังหวัดนครสวรรค์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นพนันท์ ตาปนานนท์;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
วัชระ งามนิกุลชลิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของตลาดนัดจตุจักรกับการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
พจน์มาศ ไชยสุระภวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบพื้นที่เมืองเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมขังภายใต้มาตรการการให้สิทธิ์อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่ม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
พฤฒิเชษฐ์ เลิศอุดมพฤกษา
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบองค์ประกอบทางกายภาพเมืองเพื่อแก้ปัญหามลภาวะทางเสียงจากการจราจรในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ยุวดี วิเท่ห์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบเพื่อลดผลกระทบจากมลภาวะทางแสงของป้ายโฆษณาแอล.อี.ดี.ในย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมือง กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ;วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์
สลิลทิพย์ อรุณนิธิ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการจัดวางกลุ่มอาคารเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนกรณีศึกษาศูนย์กลางธุรกิจและพาณิชยกรรม สีลม-สาทร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
พชร ตังสวานิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่บริเวณเสาชิงช้า กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;นพนันท์ ตาปนานนท์;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
สุมนมาลย์ กาญจนะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบเพื่อการพัฒนาพื้นที่จุดเปลี่ยนถ่ายการคมนาคมบริเวณแยกบางกะปิ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นพนันท์ ตาปนานนท์;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
กฤติน วิจิตรไตรธรรม
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบปรับปรุงฟื้นฟูพื้นที่พาณิชยกรรมย่านราชประสงค์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อังสนา บุณโยภาส;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
นรา พงษ์พานิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การออกแบบปรับปรุงองค์ประกอบชุมชนย่านกิ่งเพชร เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ทิพวรรณ แสนจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณจุดเปลี่ยนการสัญจรสี่แยกบางนา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
กานน เทพคเชนทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการของการใช้พื้นที่สาธารณะสำหรับการชุมนุมทางการเมืองในกรุงเทพมหานคร (พ.ศ.2500-2563)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ;พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์
วรวัณณี ลาภอำนวยเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการปรับปรุงกายภาพที่ดินเพื่อให้สามารถพัฒนาตามอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) ของผังเมืองรวม: กรณีศึกษาย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมืองกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
วีรภัทร เจนหัตถการกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 52
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,828
รวม 2,880 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 173,844 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 410 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 403 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 69 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 53 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 5 ครั้ง
รวม 174,789 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48