แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ผลการใช้ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา
EFFECTS OF USING EXERCISES BASED ON CARL ORFF’S APPROACH TO DEVELOP RHYTHMIC UNDERSTANDING IN ELEMENTARY SCHOOL BAND STUDENTS

Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อนำเสนอชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา 2) เพื่อศึกษาผลของการใช้ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้ได้แก่ นักเรียนวงโยธวาทิตระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม จำนวน 25 คน ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษา 4-6 เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา จำนวน 5 ชุด 2) แบบทดสอบความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิต ระดับประถมศึกษา 3) แบบประเมินความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิต ระดับประถมศึกษา การดำเนินการวิจัยประกอบด้วยการศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง พัฒนาเป็นชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา จากนั้นนำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและสถิติเชิงบรรยาย คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าที (t-test) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบไปด้วยแบบฝึกย่อย 5 แบบฝึก นำเสนอในรูปแบบของหนังสืออิเล็กโทรนิกบนเครื่องคอมพิวเตอร์แทบเลต 2) ผลของการใช้ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา พบว่าคะแนนรวมด้านความรู้ความเข้าใจหลังการใช้ชุดแบบฝึก สูงกว่าคะแนนก่อนการใช้ชุดแบบฝึกของนักเรียนแต่ละคน (M = 23.32, SD = 2.49), (M = 18.12, SD = 3.49) และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วย t-test พบว่าคะแนนก่อนการใช้ชุดแบบฝึกและหลังการใช้ชุดแบบฝึกแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = -10.007, sig = .000)
Abstract: This research served the following purposes: 1) to propose exercises based on Carl Orff’s approach to develop rhythmic understanding in elementary school marching band students 2) to study the results of the effect of the exercises developing rhythmic understanding in elementary school marching band students. The participant group comprises of 25 marching band students from Chulalongkorn University Demonstration Elementary School which studying in grade 4-6. The tools used in this research were 1) five exercises based on Carl Orff’s approach to develop rhythmic understanding in elementary school marching band students; 2) a test of rhythmic understanding in elementary school marching band students; 3) an evaluation form of rhythmic understanding in elementary school marching band students. The process of research included the reviewing literature, developing exercises, collecting data, and analyzing data using content analysis, percentage, mean score, standard deviation and T-Test. The research results were as follows 1) five exercises based on Carl Orff’s approach to develop rhythmic understanding in elementary school marching band students which presented in electronic book on tablet computer; 2) the score of the rhythmic understanding after using exercises was significantly higher than before using the exercises (M = 23.32, SD = 2.49), (M = 18.12, SD = 3.49) and t-test score revealed significantly difference between pretest and posttest by .05 level. (t = -10.007, sig = .000)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2560
Modified: 2562-09-03
Issued: 2562-09-03
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60020
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 5783320527[1].pdf 11.89 MB91 2025-06-27 16:10:41
ใช้เวลา
0.018397 วินาที

ดนีญา อุทัยสุข
Title Creator Type and Date Create
การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมการจำบทเพลงสำหรับนักเรียนเปียโน อายุ 11-12 ปี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
อติพร ศงสภาต
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการสะสมรูปแบบของจังหวะด้วยสื่อการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ เพื่อฝึกการอ่านโน้ตแบบฉับพลันสำหรับนักเรียนกีตาร์ในระดับชั้นต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
อนุชา พัฒนรัตนโมฬี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาปฏิบัติเครื่องดนตรีกลุ่มเครื่องสายของโรงเรียนดุริยางค์ทหารอากาศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
ภานุวัฒน์ วัฒนจินดา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การถ่ายทอดวัฒนธรรมดนตรีไทยของชุมชนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม : กรณีศึกษาวงไทยบรรเลง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
โสภณ เดชฉกรรจ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอแนวทางการพัฒนาการสอนเปียโนระดับชั้นต้นของหลักสูตรเปียโนอัลเฟรดสำหรับสถาบันสอนดนตรีเอกชนในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
ธิรดา สุนทรนาค
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาชุดการสอนโซลเฟจประกอบหลักสูตรไวโอลินตามแนวของยามาฮ่าสำหรับนักเรียนโรงเรียนดนตรีสยามกลการระดับชั้นต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
ณัฐพร ผกาหลง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาแบบฝึกคลาริเน็ตเพื่อบรรเลงเพลงไทย: กรณีศึกษาเพลงเดี่ยวพญาโศก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
มงคล ภิรมย์ครุฑ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอคู่มือการฝึกซ้อมการบรรเลงบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อพัฒนาทักษะการบรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์ด้วยแซ็กโซโฟนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
วรินธร สีเสียดงาม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลการเรียนรู้และเจตคติทางดนตรีของเด็กหูหนวกโดยใช้กิจกรรมดนตรีเพื่อพัฒนาความสามารถทางด้านจังหวะ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
สุทธิศานติ์ ชุ่มวิจารณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 : กรณีศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้หลักสูตรเน้นด้านดนตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
สุมันต์ พัวสุริยัน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอแนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินผลวิชาคีย์บอร์ดพื้นฐานในหลักสูตรดนตรีระดับปริญญาตรีของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
อภิษฐา เชาว์อรัญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาการบรรเลงเปียโนประกอบการขับร้องที่มุ่งเน้นการสร้างเสริมความเป็นเอกภาพในการบรรเลงร่วมกันสำหรับนักเปียโน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
สยา ทันตะเวช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ลักษณะความเป็นอิสระของนิ้วมือในบทเพลงเดี่ยวกีตาร์คลาสสิกที่ใช้ในการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
นลิน พ่วงความสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการบรรเลงระนาดเอกและฆ้องวงใหญ่ตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟ ต่อทักษะการบรรเลงรายบุคคลและการบรรเลงเป็นกลุ่มของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 2
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
กีฏะ เพิ่มพูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาวีดิทัศน์เชิงสารคดีเพื่อสร้างทัศนคติในการอุทิศตนเพื่อสังคมสำหรับครูดนตรีรุ่นใหม่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
ณัฐชา มิตรกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ทัศนมิติและกระบวนการถ่ายทอดดนตรีไทยของครูชนก สาคริก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
ปพิชญา เสียงประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมโดยใช้เพลงและนิทานในการบูรณาการมาตรฐานการเรียนรู้สาระดนตรีเพื่อสร้างเสริมคุณธรรมสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
กชกร สัจภาพพิชิต
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวประกอบบทเพลงพื้นเมืองสำหรับเด็กปฐมวัยที่มีต่อความเข้าใจจังหวะ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
ณัชชา เตชะอาภรณ์ชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้วิธีสอนแบบโคดายและกิจกรรมรูปภาพช่วยจำเพื่อส่งเสริมทักษะโสตประสาทของนักเรียนระดับชั้นต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
กานต์ธิดา กำแพงแก้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาหนังสือภาพประกอบการฟังบทเพลงชุดเดอะโฟร์ซีซันส์เพื่อเสริมสร้างความรู้และทัศนคติของนักเรียนประถมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
กิติยา บัวรอด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษากระบวนการถ่ายทอดและเทคนิคการสอนขิมของอาจารย์นิธิ ศรีสว่าง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
พิชญาภา มานะวิริยภาพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการใช้ชุดแบบฝึกตามแนวคิดของคาร์ล ออร์ฟเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางด้านจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
ฌานดนู ไล้ทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการจัดกิจกรรมละครเพลงเพื่อพัฒนาความเข้าใจทางดนตรี ทักษะการเคลื่อนไหวแบบยูริธึมมิกส์ และความสามารถทางสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
อภิญญ์พร ชัยวานิชศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
คุณภาพชีวิตและทัศนคติในการทำงานของครูเปียโนในโรงเรียนดนตรีเอกชนนอกระบบ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
ณัฐธิดา กิ่งเงิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการจัดกิจกรรมชมรมดนตรีไทยเพื่อเสริมสร้างกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างถาวร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
ธมนภัทร อนันตศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการการเรียนรู้และวิธีการสอนไวโอลินในสำนักการสอนทัศนา นาควัชระ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
ปุณยาพร เพรียวพานิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบริหารผลตอบแทนและแรงจูงใจของครูดนตรีโรงเรียนดนตรีเอกชนนอกระบบ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
พรรณพัชร กฤษณ์เพ็ชร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาพฤติกรรมเอื้อสังคมโดยใช้เกมบิงโกตามทฤษฎีสุขภาวะร่วมกับการสอนดนตรีแบบเดี่ยว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ดนีญา อุทัยสุข
วรจสมน ปานทองเสม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอชุดกิจกรรมดนตรีออนไลน์ทางเลือกแบบร่วมให้คำปรึกษาและการสะท้อนคิดสำหรับครูในสถานศึกษาด้อยโอกาส
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
วิชิตา จันทร์แด่น
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการจัดกิจกรรมขับร้องประสานเสียงตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลังที่มีต่อทักษะการฟังและคุณลักษณะสนับสนุนเกื้อกูล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
ธนัญญา จตุรานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ทางดนตรี ผ่านกิจกรรมการแปรทำนองของนักเรียนเปียโนระดับต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดนีญา อุทัยสุข
ธฤดี อัศวนภ
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 19
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,769
รวม 2,788 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 178,097 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 644 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 461 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 47 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 8 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 179,304 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48