แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

INFLUENCE OF PARKINSON'S DISEASE RELATED KNOWLEDGE ON PARKINSON'S PATIENT EMPOWERMENT
อิทธิพลของความรู้เกี่ยวกับโรคพาร์กินสันต่อการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้ป่วยพาร์กินสัน

LCSH: Parkinson's disease
LCSH: Brain -- Diseases
Abstract: Parkinson’s disease (PD), a neurodegenerative disorder, affects the emotional and physical functions of persons with Parkinson’s (PwP), who tend to lose their sense of empowerment, a cognitive state of perceived competence and perceived control. A diminished sense of empowerment is a result of being dependent and unable to have control over their own lives and health. To increase empowerment in PwP, it is necessary to understand the factors that impact on the empowerment. This study aimed to 1) find the extent of relationship between Parkinson’s disease related knowledge and Parkinson’s patient empowerment, controlling for personality traits and severity of disease and 2) examine Parkinson’s patient perceived acquiring Parkinson’s disease related knowledge level via distribution channel from doctors, websites, caregivers and patient support groups. This cross-sectional survey study with the interviewed questionnaire was performed at PD clinics at King Chulalongkorn Memorial hospital. The study included 128 PwP (47.7% males) with a mean age of 58.3±8.9 years, and a mean disease duration of 8.1 ± 4.8 years. Each participant in the study was asked questions from four sections: 1) Parkinson’s Patient Empowerment, 2) Health Locus of Control, 3) Self-esteem, and 4) PD Knowledge. The results showed Parkinson’s patients perceived acquiring very high Parkinson’s disease related knowledge level via doctors, caregivers, websites and patient support groups, respectively. The hierarchical multiple regression analysis indicated four significant important influencing factors were self-care knowledge (β = 0.15, p <0.05), self-esteem (β = 0.33, p <0.05), internal health locus of control (β = 0.32, p <0.05) and external health locus of control by powerful others (β = 0.18, p <0.05). All variables in the model can explain 38% of variance in Parkinson’s patient empowerment. Based on these findings, after controlling for self-esteem, internal health locus of control, external health locus of control by powerful others, external health locus of control by chance and severity of disease, self-care knowledge still showed statistically significant contribution to Parkinson’s patient empowerment (R2 Change = 0.02, p < 0.05). Thus, the effective intervention to increase Parkinson’s patient empowerment should emphasize providing self-care knowledge.
Abstract: โรคพาร์กินสัน เป็นโรคความเสื่อมของระบบประสาท ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาวะทางอารมณ์และร่างกายของผู้ป่วย ทำให้ผู้ป่วยพาร์กินสันมีแนวโน้มสูญเสียการเสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment) อันเป็นภาวะการรู้คิดในการรับรู้ความสามารถและการควบคุม ทั้งนี้การลดลงของการเสริมสร้างพลังอำนาจส่งผลให้ผู้ป่วยสูญเสียการพึ่งตนเองและไม่สามารถที่จะควบคุมชีวิตและสุขภาพของตนเองได้ ในการเพิ่มการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยพาร์กินสัน จำเป็นต้องเข้าใจปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างพลังอำนาจ ดังนั้นจุดประสงค์ของการศึกษานี้คือ 1) ต้องการดูความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคพาร์กินสันกับการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยพาร์กินสัน หลังจากควบคุมปัจจัยกวนต่างๆทางด้านบุคลิกภาพ และความรุนแรงของโรค และ 2) ประเมินระดับความรู้เกี่ยวกับโรคพาร์กินสันในมุมมองของผู้ป่วยที่ได้รับผ่านช่องทางต่างๆจาก แพทย์ เว็บไซต์ ผู้ดูแลและกลุ่มสนับสนุนผู้ป่วย การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวาง โดยใช้แบบสอบถามด้วยการสัมภาษณ์ผู้ป่วยพาร์กินสันที่คลินิกพาร์กินสัน ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์สภากาชาดไทย มีผู้เข้าร่วมการศึกษาทั้งหมด 128 คน (ชายร้อยละ 47.7) อายุเฉลี่ย 58.3 ± 8.9 ปี และค่าเฉลี่ยระยะเวลาการเป็นโรค 8.1 ± 4.8 ปี ผู้ป่วยจะถูกถามคำถามจากแบบสอบถาม 4 หัวข้อ 1) การเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้ป่วยพาร์กินสัน 2) การควบคุมตนเองด้านสุขภาพ 3) การเห็นคุณค่าในตนเอง และ 4) ความรู้เกี่ยวกับโรคพาร์กินสัน ผลงานวิจัยพบว่าผู้ป่วยพาร์กินสันรายงานว่าได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคพาร์กินสันในระดับสูงโดยผ่านทาง แพทย์ ผู้ดูแล เว็บไซต์และกลุ่มผู้ป่วย ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบเชิงชั้นชี้ให้เห็นว่า สี่ปัจจัยที่สำคัญคือ ความรู้ในการดูแลตนเอง (β = 0.15, p < 0.05) การเห็นคุณค่าในตนเอง (β = 0.33, p < 0.05) ความเชื่ออำนาจในตนเองด้านสุขภาพ (β = 0.32, p < 0.05) ความเชื่ออำนาจนอกตนเองจากคนรอบข้าง (β = 0.18, p < 0.05) โดยตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยพาร์กินสันได้ 38% จากการค้นพบดังกล่าวนี้ หลังจากควบคุมปัจจัยกวนด้านการเห็นคุณค่าในตนเอง ความเชื่ออำนาจในตนเองด้านสุขภาพ ความเชื่ออำนาจนอกตนเองจากคนรอบข้าง ความเชื่ออำนาจนอกตนเองจากเหตุบังเอิญและความรุนแรงของโรค ความรู้ในการดูแลตนเองยังคงส่งผลที่สำคัญอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยพาร์กินสัน (R2 Change = 0.02, p < 0.05) ดังนั้นวิธีการที่มีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยพาร์กินสันควรเน้นในการให้ความรู้ในการดูแลตนเอง
Chulalongkorn University. Office of Academic Resources
Address: BANGKOK
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: advisor
Created: 2015
Modified: 2019-08-30
Issued: 2019-08-30
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50154
eng
©copyrights Chulalongkorn University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 5377105733[1].pdf 3.71 MB2 2021-05-23 18:27:18
ใช้เวลา
0.01846 วินาที

Pramon Viwattanakulvanid
Title Contributor Type
INFLUENCE OF PARKINSON'S DISEASE RELATED KNOWLEDGE ON PARKINSON'S PATIENT EMPOWERMENT
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Pramon Viwattanakulvanid
Tanattha Kittisopee
วิทยานิพนธ์/Thesis
Tanattha Kittisopee
Title Creator Type and Date Create
Client and pharmacist perceptions about community pharmacy service quality
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Lawan Bunajinda
วิทยานิพนธ์/Thesis
The relative importance of store attibutes on consumers response towards drug store : the moderating effect of buying purpose
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Karnt Wongsuphasawat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Cost saving and cost avoidance from the pharmacy automation system
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Wanna-On Plodkratoke
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสำรวจบทบาทของผู้ปกครองในการส่งเสริมการเรียนการสอนวิชาพลศึกษาในโรงเรียนสาธิตประถมศึกษาสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Karnt Wongsuphasawat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Relationship among service quality, patient satisfaction and patient behavioral intention in Pharmacy service of Highly-Active antiretroviral therapy program in Community Hospitals, Thailand
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Chupen Viboonsunti;Unchalee Permsuwan;Ratanaporn Awiphan;Penkarn Kanjanarat;Tanattha Kittisopee;Kanokporn Niwatananun;Rungpetch Sakulburnrungsil
Wacharin Chaitha
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of telephone supportive self care model and evaluation of its impacts on glycemic control and self care among type II diabetic patients in Bangkok metropolitan
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Wiroj Jiamjarasrangsi ; Sompongse Suwanwalaikorn ; Tanattha Kittisopee
Nittayawan Kulnawan
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors influencing behavior of purchasing facial skincare products
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Wannakan Jaroonponpong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Quality of life in postmenopausal women with risk of osteoporosis in the Police General Hospital
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Isaree Junyasak
วิทยานิพนธ์/Thesis
Cost-utility evaluation of influenza vaccination in patients with existing cardiovascular diseases in Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Tanattha Kittisopee
Pongphaya Choosakulchart
วิทยานิพนธ์/Thesis
ECONOMIC IMPACT ASSESSMENT ON GOOD PHARMACY PRACTICE REGULATION IN COMMUNITY PHARMACY
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Thatjuta Wuttipanich
วิทยานิพนธ์/Thesis
Knowledge and Management Strategies of Guardian and teacher of Chidren with attention deficit Hyperactivity Disorder
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Boonnada Hiruncharoen
วิทยานิพนธ์/Thesis
STRUCTURAL EQUATION MODEL FOR FACTORS AFFECTING CUSTOMER ENGAGEMENT AND CUSTOMER DEVOTION TO COMMUNITY PHARMACY
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Sujin Nitadpakorn
วิทยานิพนธ์/Thesis
INFLUENCE OF PARKINSON'S DISEASE RELATED KNOWLEDGE ON PARKINSON'S PATIENT EMPOWERMENT
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Pramon Viwattanakulvanid
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors affecting community pharmacists to advise patients about herbal medicine : a survey in Indonesia
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Chilmia Nurul Fatiha
วิทยานิพนธ์/Thesis
Deep approach to learning of pharmacy students a multilevel analysis
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee;Pattrawadee Makmee
Chamipa Phanudulkitti
วิทยานิพนธ์/Thesis
Structural model of engagement and turnover intention in thai pharmacist
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Tulakarn Nakpun
วิทยานิพนธ์/Thesis
Extent of Pharmaceutical Care - Based Pharmacy Practice Among Community Pharmacists in Thai Context and It's Influencing Factors
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Vithaya Kulsomboon;Tanattha Kittisopee
Puchrin Kittipibul
วิทยานิพนธ์/Thesis
Geographic variations in health care utilization under the National health insurance program of the Philippines
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee;Rungpetch Sakulbumrungsil
Monet M. Loquias
วิทยานิพนธ์/Thesis
Reporting of adverse drug event by consumers to community pharmacists in Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Jirunya Assanee
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors contributing to pharmacists turnover intention: a systematic review
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanattha Kittisopee
Su Myat Thin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Exploring alcohol withdrawal syndrome and predicting alcohol consumption change in patients admitted to a genenral hospitals in Vietnam
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Tanattha Kittisopee
Loan Thi Mai Nguyen
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 34
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,447
รวม 2,481 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 158,254 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 274 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 250 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 45 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 38 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 158,867 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48