แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

โปรแกรมการเตรียมครูระดับปริญญาตรีเพื่อสอนวิชาสังคมศึกษา
Pre-service program for bachelor degree teachers for teaching social studies

ThaSH: ครูสังคมศึกษา
Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดโปรแกรมการเตรียมครูระดับปริญญาตรี เพื่อสอนวิชาสังคมศึกษาของสถาบันฝึกหัดครูในเขตกรุงเทพมหานคร 3 แห่ง คือ คณะครุ-ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และวิทยาลัยวิชาการศึกษา(มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) ในเรื่องการจัดรายวิชาในหมวดวิชาการศึกษาทั่วไปกับหมวดวิชาเฉพาะ การจัดอัตราส่วนระหว่างหมวดวิชาต่างๆ ในโปรแกรม และความคิดเห็นของนิสิตนักศึกษากับบัณฑิตทางการศึกษาที่มีต่อโปรแกรมการเตรียมครูสังคมศึกษาในสถาบันของตน วิธีการวิจัย คือ ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามแบบเลือกตอบ แบบมาตราส่วนประเมินค่า และแบบเติมคำหรือข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการศึกษา ไปถามกลุ่มตัวอย่างประชากร คือ นิสิตนักศึกษา ครูและบัณฑิต ซึ่งเลือกเรียนวิชาสังคมศึกษาเป็นวิชาเอก-โท จำนวน 292 คน แล้วได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยคำตอบ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำเสนอในรูปตารางผสมความเรียง ผลการวิจัยสรุปว่า 1) การจัดโปรแกรมการเตรียมครูระดับปริญญาตรีเพื่อสอนวิชาสังคมศึกษา :อัตราส่วนของหมวดวิชาการศึกษาทั่วไปในโปรแกรมทั้ง 3 โดยเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 40 ซึ่งสูงกว่าอัตราส่วนของหมวดวิชาเฉพาะและหมวดวิชาครู ซึ่งมีอัตราส่วนเฉลี่ยร้อยละ 30 และ 23 ตามลำดับ เมื่อจำแนกการจัดรายวิชาในหมวดวิชาการศึกษาทั่วไปเห็นว่า ทั้ง 3 สถาบันจัดรายวิชาในสาขามนุษยศาสตร์มากกว่าวิชาในสาขาสังคมศาสตร์ถึง 2 เท่า และจัดวิชาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไว้สูงสุดในหมวดวิชาเฉพาะ โปรแกรมการเตรียมครูสังคมศึกษา ทั้ง 3 โปรแกรม จึงมีลักษณะเป็นโปรแกรมที่มีวิชาประวัติศาสตร์เป็นแกน 2) ความคิดเห็นของนิสิตนักศึกษาครูและบัณฑิตต่อโปรแกรม 2.1) นิสิตนักศึกษาครูและบัณฑิตเห็นว่า วิธีการเรียนการสอนในวิชาเนื้อหาและวิชาครูเป็นแบบบรรยาย การใช้อุปกรณ์การสอนมีน้อย ไม่ค่อยจัดแนวการสอนแบบใหม่ๆ เช่น แบบศูนย์การเรียน หรือแบบจุลภาค การเรียนการสอนเน้นความรู้ความจำและความเข้าใจมาก ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับปานกลาง 2.2) การฝึกภาคปฏิบัติ ทั้งนิสิตนักศึกษาครูและบัณฑิตเห็นว่า มีโอกาสสังเกตการณ์สอนน้อยเกินไป ได้รับการนิเทศจากอาจารย์นิเทศไม่เพียงพอ และต้องการคำแนะนำเกี่ยวกับการสอนและวิธีการสอนมากที่สุด บุคคลที่สมควรเป็นอาจารย์นิเทศมากที่สุด คือ อาจารย์ผู้มีพื้นความรู้ทั้งในวิชาเนื้อหาและวิชาครู 2.3) ปัญหาที่นิสิตนักศึกษาครูและบัณฑิตส่วนมากประสบ คือ การฝึกภาคปฏิบัติในการเรียนการสอนวิชาครูและจำนวนหนังสือสำหรับค้นคว้าไม่เพียงพอ
Abstract: Purposes : The purpose of this research was to study both the organi¬zation, allocation and proportion of courses and the opinions of education students and graduates regarding pre-service programs for bachelor degree social studies teachers in three Greater Bangkok teacher training institutions 1 namely5 the Faculty of : Education, Chulalongkorn University the Faculty of Education, Ramkhamhaeng University; and College of Education (Sri Nakharinwirot University) Procedures: The data for this research were collected by means of 292 questionnaires using three different types of items; i.e., multiple choice, rating scale and open-end. The obtained data were first analyzed statistically by percentage, arithmetic mean and standard deviation, then tabulated and finally explained descriptively. Findings: 1. The major findings about the organization of pre-service programs for bachelor degree social studies teacher were: the proportion of general education in each pre-service program was forty percent at each of three universities. This was higher than the proportion of specialized education and professional education, which were thirty percent and twenty-two percent respectively. The amount of humanities subjects offered in the field of general education was double that of social science subjects* Most of the subjects offered in the field of specialized education dealt with history, so that these three programs were history-core programs. 2. The major findings regarding the opinions of the sample group were: 2.1 Most of students and graduates thought that the major instructional technique was lecture. They seldom used modern teaching techniques including learning-center, micro-teaching, or audio-visual aids. Knowledge and comprehension were much emphasized. The degree of relevancy between theory and practice was moderately rated. 2.2 Both students and graduates felt they had not enough time observing classroom situation and had received insufficient supervision during their practice teaching. In supervision, they needed more suggestions about teaching techniques. They suggested that the most appropriate one to be a supervisor should have the knowledge background both in subject matter and professional areas. 2.3 Insufficient laboratory-teaching experiences and amount of textbooks provided for further study was the major problem that most students and graduates encountered.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2518
Modified: 2562-08-23
Issued: 2562-08-15
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23087
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Panida_Ku_front.pdf 633.26 KB1 2019-08-27 11:11:31
2 Panida_Ku_ch1.pdf 979.75 KB1 2019-08-27 11:10:09
3 Panida_Ku_ch2.pdf 1.17 MB1 2019-08-27 11:11:52
4 Panida_Ku_ch3.pdf 368.63 KB1 2019-08-27 11:12:07
5 Panida_Ku_ch4.pdf 2.91 MB1 2019-08-27 11:12:19
6 Panida_Ku_ch5.pdf 2.21 MB1 2019-08-27 11:12:30
7 Panida_Ku_back.pdf 1.36 MB1 2019-08-27 11:12:43
ใช้เวลา
0.028699 วินาที

ภณิดา คูสกุล
Title Contributor Type
โปรแกรมการเตรียมครูระดับปริญญาตรีเพื่อสอนวิชาสังคมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภณิดา คูสกุล
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
Title Creator Type and Date Create
ปัญหาการเรียนการสอนวิชาประชากรศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
เนาวรินทร์ ชนะทัพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอโปรแกรมบูรณาการโลกศึกษากับวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
อาพันธ์ชนิตร์ จันทร์มโน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ความเข้าใจทางการเมืองของครูสังคมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
เกษม เชยชม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทัศนคติต่อวิชาชีพของครูสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ทนงค์ศรี อินทนุพัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทัศนคติทางการเมืองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ลลินธร กิจจาธิการกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาการฝึกสอนของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ประนอม เดชชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างสัมฤทธิผลในการเรียนกับสมรรถภาพในการสอน ของนักศึกษาวิชาเอกสังคมศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล;ยุพิน พิพิธกุล
พนอ เนตรพะไล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์หนังสืออ่านประกอบวิชาสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
พรพิมล เจริญสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการเรียนการสอนจริยศึกษาของครูสังคมศึกษา และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สี่ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
กาญจนา เวชยนต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของครูสังคมศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการเรียนการสอนวิชากฎหมาย ในหมวดวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ไชยันต์ แคนยุกต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักเรียนอาชีวศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล;ประคอง กรรณสูต
จีรวรรณ สร้อยน้ำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเรียนการสอนวิชาหน้าที่พลเมืองระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนราษฏร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
รพีพรรณ เอกสุภาพันธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่จูงใจในการเลือกวิชาสังคมศึกษาเป็นวิชาเอกหรือวิชาโท ของนิสิตนักศึกษาครูในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
จิราภรณ์ มานะสุคนธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดีของนักเรียนอาชีวศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
จีรังลักษณ์ ศกุนตะลักษณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเรียนการสอนวิชาหน้าที่พลเมืองระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนราษฏร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
รพีพรรณ เอกสุภาพันธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดสภานักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
อรวรรณ พนาพันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพและปัญหาการจัดค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษาสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
นพพร ไพรมณี
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาตามการรับรู้ ของผู้บริหารและครูสังคมศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
โนรี เทพมณฑา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเชิงวิเคราะห์เนื้อหาเกี่ยวกับการศึกษาเพื่ออาชีพ ในหนังสือวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
จินตนา ศิริสัจจาพิพัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับประชาธิปไตยของนักศึกษาประกาศนียบัตร วิชาการศึกษาชั้นสูง ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
รัตนาภรณ์ มหาศรานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอโปรแกรมบูรณาการจราจรศึกษากับวิชาสังคมศึกษา สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
นวลปรางค์ ชมภูศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์และประเมินหนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา ส 605
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วรัญญา สวัสดิบุตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาทักษะแผนที่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล ;จำรัส น้อยแสงศรี
เยาวณี พลเสน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของครูสังคมศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน เพื่อพัฒนาประชาธิปไตยในโรงเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ประภารัตน์ สายวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นทางการเมืองของนักเรียนไทยเชื้อสายจีน ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สุภาพร วิไลพันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทในระบอบประชาธิปไตย ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วีระวรรณ พิบูลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสำนึกทางการเมืองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลาม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วิชิต ประสมปลื้ม
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สาม ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ประวิทย์ อรรถวิเวก
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์มโนทัศน์สังคมศึกษาในหนังสือเรียนสังคมศึกษา หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วันทนา ภุมกาญจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบบประชาธิปไตย ของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
บังอร หงสะพัก
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์ความเป็นพลเมืองดีเกี่ยวกับการจราจร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ศิริพรรณ ใจยอดศิลป์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาเกี่ยวกับสภาพการปฏิบัติงานของครูสังคมศึกษา ในระดับมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วิชัย จันทร์เทพา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นเกี่ยวกับค่านิยมทางจริยธรรม ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วิระวรรณ อามระดิษ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์และประเมินหนังสือเรียนสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
พรทิพย์ สิงห์โตทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดีของนักศึกษาผู้ใหญ่ ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
โอภาส สะอาด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอโปรแกรมบูรณาการการศึกษาเพื่องานอาชีพกับวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเขตพื้นที่จังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ประเสริฐ ศรีวิเศษ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของอาจารย์และนักศึกษา เกี่ยวกับโปรแกรมวิชาสังคมศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สุพัตรา ทองประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถภาพครูสังคมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
อัธยา หาญดำรงกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนอาชีวศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วารี แสนสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ต่อการปกครองประเทศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
มงคล พรหมพัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
วัดผลวิชาภูมิศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดพระนคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ปราณี ตันตยานุบุตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
โปรแกรมการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ปราณี หัตถ์ฉลาด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สมจิตร วัฒนคุลัง
วิทยานิพนธ์/Thesis
โปรแกรมการเตรียมครูระดับปริญญาตรีเพื่อสอนวิชาสังคมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ภณิดา คูสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาอาจารย์พี่เลี้ยงในการนิเทศการสอนวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนครู ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สมพร สาริกบุตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมเรื่อง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
มาลี โตสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วรรณวิมล หนิมพานิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพและปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
พึงใจ ไวยกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์สิ่งแวดล้อมศึกษาของครูสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สาโรจน์ มีน้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน วิชาสังคมศึกษาระหว่างนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ และแผนการเรียนภาษาต่างประเทศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สุกัญญา เชยวัฒนา
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์ทางเศรษฐกิจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สายแก้ว ประทุม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการอ่าน เจตคติต่อวิชาสังคมศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เขตการศึกษา 11
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
อุดร ฤาชา
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับชีวิตครอบครัวศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
มาลินี ทองเรืองโรจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอโปรแกรมบูรณาการการศึกษาเพื่อชีวิตครอบครัวกับวิชาสังคมศึกษา สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
รุจี แพรอด
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 24
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,087
รวม 3,111 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 177,224 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 643 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 455 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 47 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 8 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 178,424 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48