แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ วิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไประดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาระหว่างวิธีสอน โดยใช้ชุดการสอนและการบรรยาย
A comparison of general science achievement between instructional packages and lecture method at the certificate of education level

ThaSH: วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
Abstract: ความมุ่งหมาย ๑.เพื่อศึกษาค้นคว้าการสร้างชุดการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป ๑๐๒ ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ๒.เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดการสอนที่สร้างขึ้น ๓.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป ๑๐๒ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา เมื่อเรียนโดยชุดการสอนกับการสอนแบบบรรยาย การดำเนินการวิจัย ๑. สร้างชุดการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป ๑๐๒ จำนวน ๕ ชุด และสร้างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนประจำชุดการสอนทั้ง ๕ ชุดด้วย ๒. นำชุดการสอนที่สร้างขึ้นทั้ง ๕ ชุดไปให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินผล ๓. นำชุดการสอนไปหาประสิทธิภาพโดยการทดลองกับนักเรียน ๑ คน, ๑๐ คน และ ๓๐ คน ตามลำดับ นำผลจากการทดสอบหลังเรียน จากการทดสอบกับกลุ่ม ๑๐ คนและ ๓๐ คนไปหาประสิทธิภาพโดยใช้เกณฑ์ ๙๐/๙๐ ๔. ทดสอบความแตกต่างนัยสำคัญของคะแนนคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เพื่อดูว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่ ๕. เปรียบเทียบผลการเรียนระหว่างการเรียนจากชุดการสอนและการเรียนจากการ กลุ่มทดลอง ให้ทำแบบทดสอบก่อนเรียน, เรียนจากชุดการสอน และทำแบบทดสอบหลัง กลุ่มควบคุม ให้ทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรียนจากครูโดยตรง แล้วทำแบบทดสอบหลังเรียน นำผลการทดสอบทั้ง ๒ กลุ่มไปทดสอบความแตกต่างนัยสำคัญของคะแนนเฉลี่ยโดยการทดสอบค่า “ที” ผลการวิจัย ๑. ผู้เชี่ยวชาญประเมินผลชุดการสอนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๘๗.๙๙ ๒. ประสิทธิภาพของชุดการสอนเมื่อเฉลี่ยทั้ง ๕ ชุด ได้ดังนี้ เมื่อทดสอบกับประชากร ๑๐ คนได้ ๙๐.๖๕/๘๗.๒๒ เมื่อทดสอบกับประชากร ๓๐ คนได้ ๙๑.๑๔/๘๗.๒๘ ๓. ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียน และการทดสอบหลังเรียนของกลุ่มทดลอง มีนัยสำคัญที่ระดับ .๐๑ แสดงว่านักเรียนเรียนจากชุดการสอนแล้วมีความรู้เพิ่มขึ้น ๔. ผลการเปรียบเทียบการเรียนจากชุดการสอนและเรียนจากการบรรยายของครูปรากฏว่า ถ้าแยกเปรียบเทียบทีละชุดความแตกต่างระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ .๐๕ ถ้าคิดรวมกันทั้ง ๕ ชุดแล้วเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง มีนัยสำคัญที่ระดับ .๐๕ ข้อเสนอแนะ ๑. การเรียนจากชุดการสอนหลายๆชุด ติดต่อกันจะให้ผลดีกว่าการเรียนจากชุดการสอนเพียงชุดเดียว ๒. ควรสร้างชุดการสอนของทุกๆ แขนงวิชาให้มากขึ้นและให้ครอบคลุมเนื้อหา ทุกบททุกตอน ๓. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับชุดการสอนต่อไป
Abstract: Purposes: 1. To study the background of and to construct a General Science 102 Instructional Package for the Certificate of Educational Level. 2. To determine the effectiveness of the Instructional Package. 3. To compare student achievement in General Science 102 with the Instructional Package and the Lecture Method at the Certificate of Education Level. Procedures: 1. Construction of five General Science 102 Instructional Packages, and conduct of pre and post-tests for each packages. 2. Evaluation of the five packages by certain experts. 3. Determination of the effectiveness of the five packages experimental use with one, Ten and them thirty participants in turn and then taking the post-test results with the ten and thirty participants to calculate the effectiveness by using the 90/90 criterion. 4. Determination of the significant difference between the arithmetic means of pre-test and post-test results examine the learning progress of each of the selected students. 5. Comparison of the achievement between learning with the instructional packages and with the lecture method, using two groups of students The Experimental Group: Pre-test, use of instructional package and post-test. The Control Group: Pre-test, learning directly from the teacher and post-test. Determination of the significant difference between the arithmetic means of the pre-test and the post-test results of both groups by using the T-test. Results: 1. The average score of the instructional packages as evaluated by the experts was 87.99. 2. The average effectiveness of the five packages was as follow: 90.65/87.62 with the group of ten students. 91.14/87.28 with the group of thirty students. 3. The difference between the arithmetic means of the pre-test and the post-test scores was significant at the .01 level. This shows that students’ knowledge had been increased. 4. The results of learning with the package and with the lecture method indicated the following: -If comparison was done with each group separately, there was no significant difference between the experimental group and the control group at the .05 level. –If comparison was done with the aggregate of the five groups significant difference between the experimental group and the control group at the .05 level. Recommendation: 1.Learning results will be better where packages are presented in series rather than when presented singly. 2. More instructional packages should be constructed to encompass all subject field as well as complete courses. 3. More research on instructional packages should be conducted.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2514
Modified: 2562-07-09
Issued: 2562-07-09
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25106
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Boonsuep_Pu_front.pdf 472.26 KB1 2019-11-19 10:51:57
2 Boonsuep_Pu_ch1.pdf 858.83 KB1 2019-11-19 10:52:06
3 Boonsuep_Pu_ch2.pdf 2.07 MB10 2020-01-13 14:11:40
4 Boonsuep_Pu_ch3.pdf 444.99 KB1 2019-11-19 10:52:27
5 Boonsuep_Pu_ch4.pdf 376.58 KB2 2021-10-27 21:57:22
6 Boonsuep_Pu_ch5.pdf 335.58 KB1 2019-11-19 10:52:37
7 Boonsuep_Pu_back.pdf 2.29 MB2 2019-11-19 10:52:43
ใช้เวลา
0.028496 วินาที

สำเภา วรางกูร
Title Creator Type and Date Create
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาการใช้ห้องสมุด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยการใช้กับไม่ใช้แผ่นโปร่งใสประกอบการสอน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร;สุภาพ วาดเขียน
สุชาดา อมรพิเชษฐ์กุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการเสนอแนะเพื่อจัดตั้งศูนย์สื่อการศึกษาสำหรับวิทยาลัยครูจันทรเกษม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
โกวิท วิวัฒน์ศร
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยี่ทางการศึกษาวิทยาลัยครูสกลนคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
คมสัน อุสุมสารเสวี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างสถานการณ์จำลองปัญหา : การเลือกและใช้สื่อการสอน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ชนิดา คัคนานต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมเรื่อง "เปลือกโลก" สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ประไพรัตน์ ศิริศรีษรชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
สถานภาพทางโสตทัศนูปกรณ์ของโรงเรียนชาวเขา และโรงเรียนประชาชนไกลคมนาคม สังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดนในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
บำเพ็ญ โต๊ะประดู่
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการรายการโทรทัศน์สำหรับการศึกษาของประชาชน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ไพบูลย์ ลิ้มมณี
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการจัดตั้งศูนย์สื่อสารการศึกษา สำหรับโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ประภัสสร์ รุจิพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการรายการวิทยุกระจายเสียงสำหรับการศึกษาของประชาชน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร

วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สำหรับวิทยาลัยครูบุรีรัมย์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ปรีดา วรปรีดา
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการจัดตั้งศูนย์สื่อการศึกษา สำหรับวิทยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
วนิดา สุวรรณเพ็ญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาเกี่ยวกับการผลิตและการใช้สื่อการสอนของครูระดับประถมศึกษา จังหวัดพิษณุโลก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
พัชรา อิงคนินันท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาการใช้โสตทัศนูปกรณ์วิชาวิทยาศาสตร์ของนิสิตฝึกสอน คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
จันทร์พิมพ์ สายสมร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การทดลองใช้ภาพยนตร์แบบสูง 8 มม เป็นเครื่องสอนวิชาอาหารและโภชนาการ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
กอบพร กัลยา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเรื่องการใช้สีกับอาคารโรงเรียนในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ไขแสง ศุขะวัฒนะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาถึงการออกแบบอาคารโรงเรียนเพื่อการใช้โสตทัศนูปกรณ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
กิติมา ชลายนเดชะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาโครงการโสตทัศนศึกษาของโรงเรียนราษฎร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในจังหวัดพระนครและธนบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
เฉลา จตุรพาณิชย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการใช้อุปกรณ์โสตทัศนช่วยการสอน ในวิทยาลัยพลศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ชำนาญ ห่อวิจิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเทคนิคการใช้โสตทัศนูปกรณ์ในการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ชำนาญ อจละนันท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการใช้อุปกรณ์การสอนในวิทยาลัยเทคนิค
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
เจริญ ปุสุรินทร์คำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาความสนใจและทรรศนะที่มีต่อหนังสือพิมพ์รายวันของเยาวชน โรงเรียนรัฐบาลระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดพระนคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
จุณณวัฒน์ กิตติเวช
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการจัดตั้งศูนย์โสตทัศนศึกษาของมหาวิทยาลัยขอนแก่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ธีรกุล ศรีจันทพงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาเรื่องโสตทัศนูปกรณ์ในโรงเรียนชาวเขาของตำรวจชายแดนเขต 5
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ทองใบ สายพรหมา
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของภาพยนต์โทรทัศน์ต่อพฤติกรรมเด็กวัยรุ่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ปฏิพัทธ์ กระแสอินทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ปัญหาการผลิตภาพยนตร์ของหน่วยราชการในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ร่วมศักดิ์ แก้วปลั่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสำรวจปัญหาและความต้องการโสตทัศนูปกรณ์วิชาสังคมศึกษา ในโรงเรียนอาชีวศึกษาส่วนกลาง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
สมพร กระจายศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับโสตทัศนศึกษาของโรงเรียนมัธยม ในจังหวัดภาคเหนือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ศรีพรรณ อุประคำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสำรวจความต้องการทางโสตทัศนูปกร์วิชาภาษาไทยในโรงเรียนประถมศึกษา ในเขตเทศบาลพระนครและธนบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
วินิจ ปัจฉิมสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศูนย์โสตทัศนศึกษาของมหาวิทยาลัย : โครงการจัดตั้งศูนย์โสตทัศนศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
วิเชียร นิตยะกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างและใช้ภาพยนตร์แอนิเมชั่นในการสอนเรื่อง "มโนทัศน์พื้นฐานของเรขาคณิตวิเคราะห์" ชั้นมัธยมศึกษาปีที่สี่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
วินัย เชาวน์ดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาเกี่ยวกับโสตทัศนูปกรณ์ของนิสิตฝึกสอน คณะคุรุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สำเภา วรางกูร
ศิริพร วีระโชติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศูนย์โสตทัศนศึกษาของมหาวิทยาลัย โครงการจัดตั้งศูนย์โสตทัศนศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร;สำเภา วรางกูร
ปราณี นนทมาศ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการเทคโนโลยี่ทางการศึกษาสำหรับมหาวิทยาลัยปวงชนของประเทศไทยในอนาคต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สำเภา วรางกูร;วิจิตร ภักดีรัตน์
ณัฐวุฒิ คุณาวุฒิ
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการเสนอแนะการจัดตั้งศูนย์สื่อการศึกษา สำหรับโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
สุพัตรา สกุลครู
วิทยานิพนธ์/Thesis
การชมรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สำเภา วรางกูร
ทัศนีย์ ยาสมาน
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการเสนอแนะจัดตั้งศูนย์สื่อการศึกษา สำหรับวิทยาลัยครูอุบลราชธานี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สำเภา วรางกูร
มานิต ยอดเมือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรม เรื่อง "ความรู้เบื้องต้นวิชาเรขาคณิต" สำหรับนักเรียนชั้นมัธศึกษาปีที่ 1
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
สุวรรณี ชั่งทองคำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สำหรับโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฏิ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
เรวัต เปี่ยมระลึก
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการจัดและดำเนินงานศูนย์โสตทัศนศึกษาของหน่วยงาน ประชาสัมพันธ์จังหวัดแห่งประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
รัมภา ไตชิละสุนทร
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการเสนอแนะเพื่อจัดตั้งศูนย์โทรทัศน์การศึกษา สำหรับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Montip Duangden;สำเภา วรางกูร
มนต์ทิพย์ ดวงเด่น
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สำหรับวิทยาลัยครูเพชรบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
สมพร สุขวิเศษ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของชาวบ้านเกี่ยวกับภาพยนตร์ที่ใช้ในการปฏิบัติการทางจิตวิทยาของ กอ รมน เขตจังหวัดนครพนม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สำเภา วรางกูร
กำจัด ดิศวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาการใช้สื่อการสอนของนักศึกษาฝึกสอนวิทยาลัยครูสกลนคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
สนอง ทองวิเศษ
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการจัดตั้งศูนย์สื่อการศึกษาแบบคอนซอเตียม สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มที่ 1
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร;อุทัย บุญประเสริฐ
มนัส บุญประกอบ
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการเสนอแนะเพื่อจัดตั้งศูนย์สื่อการศึกษา สำหรับวิทยาลัยครูหมู่บ้านจอมบึง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สำเภา วรางกูร
นราพร มยุระสาคร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลของการใช้ฟิล์มสคริปกับแบบจำลองประกอบการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
นิภา สุโขธนัง
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของภาพต่างชนิดที่มีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
จินตนา ยันตรศาสตร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการใช้สื่อมวลชน เพื่อการศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ตวงแสง สุวรรณศร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การทดลองสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้ภาพยนตร์แบบลู้พ 8 มิลลิเมตร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
เบญจมาศ เมฆโสภณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ วิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไประดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาระหว่างวิธีสอน โดยใช้ชุดการสอนและการบรรยาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
บุญสืบ พันธุ์ดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสนใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ต่อวัสดุการศึกษาประกอบการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
วิไล วัฒนดำรงค์กิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การค้นคว้าสภาพของแสงสว่างที่เหมาะสมในการอ่านตัวพิมพ์ไทย ซึ่งมีขนาดแตกต่างกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Suparb Wadkhien.;สำเภา วรางกูร
สุภาพ วาดเขียน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเปรียบเทียบผลการสอนวิชาสังคมศึกษาในชั้นประถมปลาย (ป5, 6, 7) ด้วยฟิล์มสตริปกับการสอนด้วยปากเปล่า
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
เปี่ยมจิตต์ เกียรติบรรลือ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสิ่งที่มีผลต่อการใช้โสตทัศนูปกรณ์ประเภทฉาย ในโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมวิสามัญศึกษา ในจังหวัดพระนครและธนบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
สุมน อินทรโฆสิต
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาอิทธิพลของสื่อมวลชนที่มีผลต่อการเรียนวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนอาชีวศึกษาในจังหวัดพระนคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
สุดา ธำรงโชติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการใช้โทรทัศน์ประกอบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา ของเทศบาลนครกรุงเทพ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ประณีต โรหิโตปการ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทางวิทยุโรงเรียนในชนบท
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
สำเนา เจิมพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสำรวจความต้องการโสตทัศนูปกรณ์ วิชาสังคมศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาตอนต้น ในเขตเทศบาลพระนครและธนบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
เจริญใจ บุณยทัต
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสำรวจความต้องการโสตทัศนูปกรณ์วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนเทศบาลในจังหวัดพระนครและธนบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
สอาง ปัจฉิมกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาการผลิตและการใช้อุปกรณ์การสอนของนักเรียนฝึกหัดครู ระดับประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สำเภา วรางกูร
ดาวรุ่ง ส้มเกลี้ยง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างสถานการณ์จำลองปัญหาของครู
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
ถวิล นิ่มขุนทด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาเกี่ยวกับการใช้สื่อการสอนในการสอนภาษาฝรั่งเศสระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนรัฐบาลในเขตการศึกษา 8
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร;อุไร พลกล้า
กรองกาญจน์ ไชยวงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพและความต้องการเทคโนโลยีทางโสตทัศนศึกษาระดับมหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเภา วรางกูร
อุทัย บุญประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 57
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,458
รวม 2,515 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 102,732 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 140 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 136 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 27 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 21 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 15 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 103,075 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180