แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การตรวจระดับโมเลกุลของยีนที่สร้าง Asparaginyl endopeptidase ในพยาธิตัวกลมชนิด Angiostrongyluscantonensis ด้วยเทคนิค semi-nested PCR
A semi-nested pcr assay for molecular detection of Asparaginyl Endopeptidase Gene in Angiostrongyluscantonensis

Organization : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะวิทยาศาสตร์

Organization : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะวิทยาศาสตร์

Organization : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะวิทยาศาสตร์
Email : Thanawant@g.swu.ac.th
keyword: โรคพยาธิหอยโข่ง
; โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ThaSH: สมอง -- โรค
ThaSH: พยาธิวิทยา
ThaSH: ระบาดวิทยาเชิงโมเลกุล
Abstract: พยาธิตัวกลมชนิด Angiostrongyluscantonensis เป็นปรสิตที่ก่อโรคพยาธิหอยโข่ง (angiostrongyliasis) หรือโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดอีโอซิโนฟิลิก (eosinophilic meningitis) ซึ่งก่อให้เกิดอาการทางคลินิกที่รุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต พยาธิตัวกลมชนิดนี้พบรายงานการระบาดในหลายพื้นที่ทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทยซึ่งมีรายงานการระบาดอย่างต่อเนื่อง การวินิจฉัยโดยทั่วไปมักใช้การตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยา อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีการพัฒนาการตรวจระดับโมเลกุลที่สามารถตรวจสอบได้อย่างถูกต้องแม่นยำ คือ การตรวจโดยใช้เทคนิคการเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมด้วยปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส (PCR) ผู้วิจัยได้พัฒนาวิธี seminested PCR เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบให้มีความแม่นยำมากขึ้น โดยออกแบบไพรเมอร์ที่จำเพาะต่อยีน Ac-AEP ซึ่งเมื่อแปลรหัสพันธุกรรมออกมาแล้วจะได้เอนไซม์ asparaginyl endopeptidase ผลที่ได้จาก PCR ด้วยไพรเมอร์คู่นอกได้ชิ้นดีเอนเอขนาดประมาณ 1,400 คู่เบส จากนั้นนำผลิตภัณฑ์จาก PCR ในรอบแรกไปทำ PCR รอบที่ 2 ด้วยไพรเมอร์ด้านในได้ผลผลิต PCR ขนาดประมาณ 500 คู่เบส วิธีการนี้จึงสามารถนำไปใช้ในการจำแนก A. cantonensis ออกจากหนอนพยาธิชนิดอื่นได้
Abstract: Angiostrongyluscantonensis is a parasite causes angiostrongyliasis or eosinophilic meningitis, whichresults in severe clinical symptoms leading to death.The incidence has been reported in many areas around the world. In Thailand, eosinophilic meningitis has been continuously reported.Immunological screening is a basic technique usually used for detection.Recently, a molecular technique, polymerase chain reaction (PCR), has been applied for accurately detection of the parasitic infection. We developed the semi-nested PCR for the detection of A. cantonensis using specific primers for the Ac-AEP gene encoded the asparaginyl endopeptidase enzyme. Approximately 1,400 bp fragments were obtained from the outer primers, and were used for the semi-nested PCR. The second primers were successfully amplified the 500 bp PCR product. This method could be a potential tool for both detection and discrimination of A. cantonensis.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สำนักหอสมุดกลาง
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: library@kmutnb.ac.th
Created: 2560
Modified: 2019-07-03
Issued: 2562-07-03
บทความ/Article
application/pdf
BibliograpyCitation : ใน มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิทยาศาสตร์. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC 2017) (pp.284-290). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสยาม
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 ASTC 2017pp.284-290.pdf 826.71 KB6 2021-04-12 21:33:11
ใช้เวลา
0.022008 วินาที

นันท์นภัส สุขเกษม
Title Contributor Type
การตรวจระดับโมเลกุลของยีนที่สร้าง Asparaginyl endopeptidase ในพยาธิตัวกลมชนิด Angiostrongyluscantonensis ด้วยเทคนิค semi-nested PCR
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
นันท์นภัส สุขเกษม;ฐาปนา ชลธนานารถ;ธนวรรณ เตชางกูร

บทความ/Article
ฐาปนา ชลธนานารถ
Title Contributor Type
การตรวจหาพยาธิใบไม้ Haplorchis taichui Witenberg, 1930 ในหอยฝาเดียว จากอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ไพรเมอร์แบบจำเพาะ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฐาปนา ชลธนานารถ
ดวงเดือน ไกรลาศ
ชโลบล วงศ์สวัสดิ์
กนกพร แสนเพชร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ค่าความชุกของการติดพยาธิใบไม้ชนิด Haplorchis taichui ในหอยเดียวจากลุ่มแม่น้ำแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดยเทคนิคทางสัญฐานวิทยาและอณูชีววิทยา
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ฐาปนา ชลธนานารถ.;ชโลบล วงศ์สวัสดิ์.

บทความ/Article
การศึกษาค่าความชุกของการติดไข่พยาธิแส้ม้า (Trichuris spp.) ในโค (Bos taurus) จากพื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
จันทกานต์ การิยะ;มณีภรณ์ เอี้ยมเฟี้ยม;ฐาปนา ชลธนานารถ

บทความ/Article
การตรวจระดับโมเลกุลของยีนที่สร้าง Asparaginyl endopeptidase ในพยาธิตัวกลมชนิด Angiostrongyluscantonensis ด้วยเทคนิค semi-nested PCR
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
นันท์นภัส สุขเกษม;ฐาปนา ชลธนานารถ;ธนวรรณ เตชางกูร

บทความ/Article
ระบาดวิทยาของการติดตัวอ่อนพยาธิใบไม้ระยะเซอร์คาเรียในหอยฝาเดียวจากพื้นที่เกษตรกรรมบริเวณ จังหวัดชัยนาท
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ศุภณัฐ สารรัตน์;วรากร บุญประเสริฐ;ศุภณัฐ มนตรีนภากร;ฐาปนา ชลธนานารถ

บทความ/Article
ค่าความชุกของการติดตัวอ่อนพยาธิใบไม้ระยะเซอร์คาเรียในหอยฝาเดียวในจังหวัดนครปฐม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วิศรุต พ่วงแสงสุข;ฐาปนา ชลธนานารถ

บทความ/Article
สัณฐานวิทยาและการระบุอัตลักษณ์เชิงโมเลกุลของหนอนพยาธิในปลากระดี่หม้อ (Trichopodus trichopterus (Pallas, 1770))
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เมธาวี สบายใจ;วศิน พานิช;ฐาปนา ชลธนานารถ

บทความ/Article
สถานการณ์การระบาดของพยาธิใบไม้ลำไส้ระยะติดต่อชนิด Echinostoma spp. ในหอยฝาเดียวบริเวณพื้นที่เกษตรกรรมจังหวัดสิงห์บุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เพ็ญเพชร สารเสา;ฐาปนา ชลธนานารถ

บทความ/Article
ค่าความชุกของหนอนพยาธิในปลาน้ำจืดบางชนิดในแม่น้ำน้อยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ฐิติชญา พุ่มสุวรรณ์;ไทรลดา นามมุงคุณ;ฐาปนา ชลธนานารถ

บทความ/Article
สถานการณ์การระบาดของตัวอ่อนพยาธิใบไม้ระยะเซอร์คาเรียของพยาธิใบไม้ลำไส้ขนาดเล็ก Haplorchis taichui ในจังหวัดชัยนาท
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
นภสร เมธังกรวงศ์;นงลักษณ์ ทองดี;ฐาปนา ชลธนานารถ

บทความ/Article
ธนวรรณ เตชางกูร
Title Contributor Type
การตรวจระดับโมเลกุลของยีนที่สร้าง Asparaginyl endopeptidase ในพยาธิตัวกลมชนิด Angiostrongyluscantonensis ด้วยเทคนิค semi-nested PCR
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
นันท์นภัส สุขเกษม;ฐาปนา ชลธนานารถ;ธนวรรณ เตชางกูร

บทความ/Article
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 25
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,303
รวม 2,328 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 178,778 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 646 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 464 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 47 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 8 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 179,990 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48