แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การพัฒนารูปแบบการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นที่เหมาะสมเพื่อการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา
The Development Model Of Appropriate Community Resources Utilization For Primary Schools

keyword: แหล่งเรียนรู้
ThaSH: การพัฒนา -- แหล่งเรียนรู้
Classification :.DDC: 371.23
; การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
Abstract: การวิจัยครั้งนี้การวิจัยใช้วิธีแบบผสมผสาน (mixed methods research) เชิงปริมาณ (quantitative methods) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative methods) มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ ดังนี้ คือ เพื่อศึกษาความเป็นแหล่งการเรียนรู้ เพื่อพัฒนารูปแบบการใช้แหล่งเรียนรู้ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพรูปแบบการใช้แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นที่เหมาะสม เพื่อการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา กลุ่มเป้าหมายมี 4 กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่ประสบความสำเร็จในการใช้แหล่งเรียนรู้ 5 แห่ง ผู้เชี่ยวชาญ 7 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 20 คน และ สถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่ประสบความสำเร็จในการใช้แหล่งเรียนรู้ 5 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่แบบแบบสัมภาษณ์และสังเกตแบบกึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม (questionnaire) แบบมาตรา ส่วนประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และวิเคราะห์ข้อมูลบรรยายเชิงคุณภาพ (content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของความเป็นแหล่งเรียนรู้มีความเกี่ยวข้องประสานสัมพันธ์กัน จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และศึกษาข้อมูลภาคสนาม พบว่ามี 6 องค์ประกอบ คือ AISPSS การบริหารจัดการศึกษาโดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (A=administrator) การจัดการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ (I=instructional) คุณภาพผู้เรียนจากการใช้แหล่งเรียนรู้ (S=student) การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง (P=parental) การนิเทศการศึกษาจากการใช้แหล่งเรียนรู้ (S=supervisors) และการให้บริการแหล่งเรียนรู้ (S=service) 2. รูปแบบการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ศึกษาจากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ และการวิพากษ์สนทนากลุ่ม ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน PAISLDA ดังนี้ ขั้นที่ 1 การวางแผน (P=planning) ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ (A=analysis) ขั้นที่ 3 การจัดการเรียนรู้ (I=instructional) ขั้นที่ 4 การให้บริการ (S=service) ขั้นที่ 5 การเชื่อมโยงความรู้สู่สากล (L=linked to global) ขั้นที่ 6 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ (D=development) ขั้นที่ 7 ประเมินผลและเผยแพร่ (A=asses and spreads) และเงื่อนไขสำคัญ(C=conditions) ในการใช้รูปแบบ ประกอบด้วย บุคคล หน่วยงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. ประสิทธิภาพของการใช้แหล่งเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา ทำการประเมิน 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การออกแบบและพัฒนา ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ มีประสิทธิภาพที่ระดับมากที่สุด ( =4.75, S.D.=3.65) ขั้นตอนที่ 2 โดยการสนทนากลุ่ม ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิมีประสิทธิภาพที่ระดับมากที่สุด (ร้อยละ100) ขั้นตอนที่ 3 การทดลอง (try out) ประเมินโดยบุคลากรในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา มีประสิทธิภาพที่ระดับมากที่สุด ( =4.79, S.D.=2.94)
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: กาญจนบุรี
Email: tdc@kru.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Created: 2558
Modified: 2561-09-13
Issued: 2561-09-13
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
371.23
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Payoong Baiyaem.pdf 6.92 MB149 2025-05-30 16:22:03
ใช้เวลา
0.016554 วินาที

พยุง ใบแย้ม
Title Contributor Type
การพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้โดยใช้สื่อภาพ
มหาวิทยาลัยศิลปากร
พยุง ใบแย้ม
ลิขิต กาญจนาภรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการใช้เทคนิคการควบคุมตนเองที่มีต่อพฤติกรรมใฝ่รู้ใฝ่เรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดบ้านทวน จังหวัดกาญจนบุรี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พยุง ใบแย้ม
ผุสดี กุฏอินทร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นที่เหมาะสมเพื่อการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
พยุง ใบแย้ม
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
Title Creator Type and Date Create
รูปแบบการนิเทศภายในที่มีประสิทธิผลต่อการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
วรรณี ภิรมย์คำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นที่เหมาะสมเพื่อการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
พยุง ใบแย้ม
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 1,076
รวม 1,078 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 76,712 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 45 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 1 ครั้ง
รวม 76,759 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.208