การศึกษาหาปริมาณแอนโทไซยานินในข้าวก่ำและการจำแนกสายพันธ์โดยเทคนิควิสิเบิลและเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี
The study of Anthocyanin content determination and variety identification of Purple Rice by visible/near infrared spectroscopy
Organization :
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
Organization :
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ คณะวิทยาศาสตร์
Organization :
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ คณะวิทยาศาสตร์
Abstract:
การศึกษาหาปริมาณแอนโทไซยานินในข้าวก่ํา และการจําแนกสายพันธุ์โดยเทคนิควิสิเบิล และเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี ในข้าวก่ํา 3 พันธุ์ คือ ข้าวกําน่าน ข้าวกําพะเยา และข้าวกําคอย สะเก็ด โดยการศึกษาสมบัติทางกายภาพของเมล็ดข้าวและข้าวกล้อง การศึกษาการตอบสนอง ของแอนโทไซยานินในรําข้าวกต่อช่วงคลื่นวิสิเบิลและเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีด้วยเครื่อง NIRSystem 6500 การศึกษาความเป็นไปได้ในการตรวจวัดปริมาณแอนโทไซยานินในเมล็ดข้าวกํา และการจําแนกสายพันธุ์ข้าวกําด้วยเทคนิควิสิเบิล (visible, VIS) และเนียร์อินฟราเรด (near infrared, NIR) สเปกโทรสโกปี และการทดสอบความแม่นยําของสมการเทียบมาตรฐานปริมาณ แอนโทไซยานินในข้าวก่ํา ผลการทดลองพบว่า เมล็ดข้าวเปลือกและเมล็ดข้าวกล้องของข้าวค่ําทั้ง 3 พันธุ์มีลักษณะทางกายภาพคล้ายคลึงกัน แต่ค่าสีโดยเฉพาะค่า a* ของเมล็ดข้าวค่ําน่านมีค่าสูงกว่า ข้าวกําพะเยาและข้าว...ดอยสะเก็ด และสอดคล้องกับปริมาณแอนโทไซยานินที่ได้จากการวิเคราะห์ สําหรับสเปกตรัมของรําข้าวกทั้ง 3 พันธุ์มีลักษณะคล้ายคลึงกัน โดยในช่วงความยาวคลื่น 400 - 2500 นาโนเมตร พบพีกชัดเจนที่ความยาวคลื่น 462, 600, 1206, 1468, 1724, 1934, 2118, 2308 และ 2348 นาโนเมตร พีกส่วนใหญ่ยังพบบนสเปกตรัมดั้งเดิมของเมล็ดข้าวด้วย ที่ความยาวคลื่น 462, 598, 988, 1202, 1470, 1764, 1934, 2122 และ 2312 นาโนเมตร แต่มีความคลาดเคลื่อนของต่ํา แหน่งซึ่งเป็นอิทธิพลของการกระเจิงของแสงของเมล็ดข้าวและรําข้าว และเมื่อวิเคราะห์มูล
มหาวิทยาลัยแม่โจ้. สำนักหอสมุด
CallNumber:
รว 633.1 อ129ก
©copyrights มหาวิทยาลัยแม่โจ้