แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

รูปแบบการปกครองสงฆ์ไทยในอนาคต
A Model of Thai Sangha Administration in the Future

keyword: อนาคต
; การปกครองสงฆ์
Abstract: การวิจัยเรื่อง “รูปแบบการปกครองสงฆ์ไทยในอนาคต” โดยมีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑) เพื่อศึกษารูปแบบการปกครองสงฆ์ในพระไตรปิฎก ๒) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคการปกครองสงฆ์ไทย ๓) เพื่อเสนอรูปแบบการปกครองสงฆ์ไทยในอนาคต การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาข้อมูล เอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน ๑๒ รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์ในเชิงการพรรณนา เพื่อให้เห็นข้อมูลครอบคลุมอย่างชัดเจน ผลการวิจัยพบว่า ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าทรงพยายามแก้ปัญหาสังคมเรื่องวรรณะ ทรงตั้งสังคมสงฆ์ขึ้นมีความมุ่งหมายสำหรับผู้ครองชีวิตโดยชอบธรรม สังคมสงฆ์ถือว่าเป็นรูปแบบวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่ายเป็นไปเพื่อความขัดเกลากิเลส และมีจุดมุ่งหมายสูงสุดที่ชัดเจนกล่าวคือมรรคผลนิพพาน รูปแบบการปกครองสงฆ์ส่วนมากปรากฏในคัมภีร์พระวินัยปิฎก ในยุคแรกๆ พระองค์ทรงปกครองด้วยพระองค์เอง พอมาระยะที่สอง ทรงปกครองเองบ้าง ให้พระสาวกช่วยปกครองบ้าง ครั้นถึงยุคตอนปลาย ทรงมอบความเป็นใหญ่ให้หมู่พระสงฆ์ การบัญญัติพระวินัยเพื่อควบคุมความประพฤติของพระสงฆ์ให้เรียบร้อยดีงาม เมื่อมีอธิกรณ์เกิดขึ้นในหมู่สงฆ์ก็ใช้หลักของ อธิกรณสมถะเพื่อระงับอธิกรณ์ที่เกิดขึ้น และยังมีหลักธรรมที่สนับสนุนส่งเสริมและเกื้อกูลการปกครองสงฆ์ เพื่อทำให้การปกครองมีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงทำให้สังคมสงฆ์เป็นสังคมที่มีความเป็นอยู่ผาสุก ในประเทศไทย การปกครองสงฆ์ได้มีพัฒนาการมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การปกครองสงฆ์ไทยในปัจจุบันนี้ ได้ปกครองตาม พ.ร.บ. คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๓๕ และ มีการแก้ไขเพิ่มเติมมาจนถึงปัจจุบันนี้ ยังมีจุดอ่อนที่ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขอยู่มาก เพราะการปกครองที่รวมศูนย์ที่มหาเถรสมาคมขณะนี้ มีลักษณะที่ปิดแคบและขาดการมีส่วนร่วมไม่มีการกระจายอำนาจ ขาดหลักธรรมาภิบาล ส่วนพระภิกษุก็ประพฤติย่อหย่อนพระธรรมวินัย เกิดสัทธรรมปฏิรูปมีการบิดเบือนแนวคิดใหม่ลงไปในคำสอนของพระพุทธเจ้า ทำให้คณะสงฆ์มีความอ่อนแอ รูปแบบการปกครองสงฆ์ไทยที่ควรจะเป็นในอนาคต คณะสงฆ์ต้องปฏิรูปรระบบโครงสร้างการปกครองและมีแผนยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนกิจการพระศาสนา โดยมีพระธรรมวินัยเป็นหลักในการปฏิบัติ ระบบการปกครองควรมีการกระจายอำนาจให้พระสงฆ์มีส่วนร่วมมากขึ้น มหาเถรสมาคมก็ควรมีหน่วยงานที่เป็นระดับรองลงมาตั้งเป็นคณะกรรมการสังฆสภาบริหารกิจการคณะสงฆ์ เพื่อให้งานคณะสงฆ์ดำเนินไปอย่างมีระบบไม่ล่าช้า การแต่งตั้งพระสังฆาธิการระดับต่างๆ ก็ควรให้พระสงฆ์ที่อยู่ในเขตนั้นๆ ได้มีโอกาสคัดเลือกผู้นำของตนมากขึ้น ควรตั้งสำนักงานเจ้าคณะผู้ปกครองทุกระดับที่ถาวร การพิจารณาหรือตัดสินอธิกรณ์ของสงฆ์ก็ควรมีหน่วยงานที่มีความแตกฉานพระธรรมวินัยและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และควรตระหนักถึงแนวทางป้องกันภัยของพระพุทธศาสนาอันจะพึงมีในอนาคตเพื่อความดำรงมั่นแห่งพระพุทธศาสนา
Abstract: This dissertation entitled ‘A Model of Thai Sangha Administration in the Future’ has three objectives: 1) to study the model in governing Sangha in Tipiṭaka, 2) to study the problems and obstacles in governing Thai Sangha, and 3) to propose the model in governing Thai Sangha in the future. This research was a qualitative research with documentary and in-depth interviews with 12 key informants. The data were analyzed in descriptive manner. To clearly see the data. In the study, it was found that in the Buddha’s times the problem of caste in society had been solved by the Buddha through establishment of Sangha community with a view to provide the certain place wherein one can live the righteous life and such a community is held as the simple way of living life by which one can detach one’s mind from defilement and can seek Summum Bonum, Nibbãna. As far as the Order in Tipiṭaka is concerned, most of models in governing Sangha at earlier period were done by the Buddha Himself and later on He sometimes ruled the Sangha and also passed the works to His disciples. However, when it came to the final period, He established Sangha to act on behalf of Dhamma and Vinaya to control Buddhist monks’ behaviours in the good manners, if there was accusation raised in the Sangha then the settlement of legal procession was used to solve it. In this matter, certain tenets supporting such a government were also provided so to effectively rule Sangha resulting in giving more wellbeing to the mentioned Sangha community. In Thailand, the governing of Sangha has been being developed since the past till now. Right now, it was under the Sangha Act, 2505 B.E. and then it was re-amended, 2535 B.E. and after that it was amended many times till the present. It is claimed that many weak points in it need to be amended because the centralization in governing assumed by the supreme council of Sangha has been giving rise to the narrowness and thereby giving non-decentralization to governing body. Consequently, it has brought about non-good governance causing Buddhist monks’ misbehaviors in Dhamma and Vinaya. Furthermore, it has been given rise to non-Buddhist teachings distorting the Buddha’s words and such phenomena have been weakening Sangha respectively. In this research, the future model in governing Sangha proposed by this research was shown as follows: the structural system in governing Sangha should be effectively reformed by creating certain strategies to drive Buddhist activities through Dhamma and Vinaya. In reforming it, the decentralization should be made so that Buddhist monks’ taking part in higher level could be expected. With respect to this, the supreme council of Sangha should set up the certain sub-unit by appointing them to be committees in the Sangha parliament for Sangha administrations so that the Sangha’s activities would be quicken. In the appointment of the Sangha leaders in various positions, Buddhist monks in that region should be taken into account, many permanent departments for the different levels of ecclesiastical regional governors should be established so that the accusation raised in the area could be solved in due time and also those Buddhist monks who are good at Dhamma and Vinaya including various laws in society should be appointed and the awareness of the ways leading to prevent the arising of Buddhist future problems should be made so that Buddhism could be stabilized.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: อยุธยา
Email: library@mcu.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Created: 2560
Modified: 2561-07-28
Issued: 2561-07-28
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 MCU60102016.pdf 6.58 MB80 2024-06-18 11:47:49
ใช้เวลา
0.021049 วินาที

พระมหาสัญญา ขนฺติธมฺโม (ตรีสวัสดิ์)
Title Contributor Type
รูปแบบการปกครองสงฆ์ไทยในอนาคต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาสัญญา ขนฺติธมฺโม (ตรีสวัสดิ์)
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง)
สมิทธิพล เนตรนิมิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง)
Title Creator Type and Date Create
การศึกษาเปรียบเทียบหลักคำสอนเรื่องกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาทกับศาสนาเชน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ผศ.ดร.;ดร. ประพันธ์ ศุภษร;อาจารย์รังษี สุทนต์
พระมหาสมคิด ธีรธมฺโม (ทานะจิตต์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องอายตนะตามทรรศนะของพุทธทาสภิกขุ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
กรรณิการ์ ขาวเงิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษากำเนิดและพัฒนาการรามัญนิกายในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ผศ.ดร., ป.ธ. ๙, พธ.บ., ศน.ม.M. Phil., Ph.D.
พันเอก ณรงค์ ครองแถว
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาการปฏิบัติตนตามหลักธรรมในหลักสูตรหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ โรงเรียนฉิมพลี เขตตลิ่งชันกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ผศ.ดร. ป.ธ.๙, พธ.บ. (ปรัชญา), ศน.ม.(พุทธศาสน์ศึกษา),M.Phil., Ph.D. (Buddhist Studies);พลโท ดร.วีระ วงศ์สรรค์ กศ.บ. (เกียรตินิยม), น.บ., วท.บ., ศศ.บ., ศศ.ม., คม.,กศ.ด.
พระอภิชาติ สิริสุโข (ศรีสุขา)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์หลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนามนุษย์ตามช่วงวัยทั้งสาม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;สมิทธิพล เนตรนิมิต
พระมหาธงไชย วิสุทฺโธ (จันทสิทธิ์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์หลักอริยสัจ 4 ในการแก้ปัญหาการเล่นการพนันของเยาวชนไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาสำเริง ขนฺติสาโร (ทรัพย์สิงห์เรือง)
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการปฏิบัติต่อเวทนาในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;บุญเลิศ โอฐสู
จินดา เฮงสมบูรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการปกครองสงฆ์ไทยในอนาคต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาสัญญา ขนฺติธมฺโม (ตรีสวัสดิ์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษา พฤติกรรมความเชื่อของชาวพุทธที่สนใจโหราศาสตร์ ที่มีต่อหลักโหราศาสตร์ และหลักศรัทธา 4
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;วีระ วงศ์สรรค์
ณฤดี วิวัชภูรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
สมิทธิพล เนตรนิมิตร
Title Creator Type and Date Create
ศึกษาอาการวิปลาสที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติกรรมฐาน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสุธีธรรมานุวัตร (เทียบ สิริญาโณ);รศ.ดร.โสรีช์ โพธิแก้ว;ผศ.ดร. สมิทธิพล เนตรนิมิตร
นางสาวภาวนีย์ บุญวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาวิเคราะห์คุณค่าและความสำคัญของปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระศรีคัมภีรญาณ(สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ);พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส;ผศ. ดร. สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระปลัดประเสริฐ อานนฺโท (ชูศรี)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเชิงวิเคราะห์แนวคิดเรื่องจักรวาลวิทยาในไตรภูมิพระร่วง
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระศรีคัมภีรญาณ(สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ);รศ. ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร;ผศ. ดร. สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาเศรษฐา เสฏฺฐมโน (หินศิลา)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาการพัฒนาปัญญาตามวิสุทธิมรรคเพื่อการศึกษาไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;พระมหาอุดม สารเมธี ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาชัยยุทธ์ กิตฺติ
าโณ (คำแก้ว)
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการปกครองสงฆ์ไทยในอนาคต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาสัญญา ขนฺติธมฺโม (ตรีสวัสดิ์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาชีวิตด้วยหลักวิริยบารมีตามแบบอย่างพระมหาชนก
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สมิทธิพล เนตรนิมิตร ;สุเทพ พรมเลิศ
จำลองลักษณ์ สุจริตจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในวรรณกรรมเยาวชนเรื่องในสวนลับ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสุธีธรรมานุวัตร (เทียบ สิริญาโณ);สมิทธิพล เนตรนิมิตร
ปุญญพัฒน์ ผ่องสวัสดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 28
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,051
รวม 3,079 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 95,835 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 172 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 159 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 23 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 14 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 96,208 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48