แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การวิเคราะห์การประหยัดพลังงานไฟฟ้าในสังคมไทยตามหลักสัปปุริสธรรม
An analysis of electrical energy saving in Thai social according to Sappurisa Dhamma

keyword: สังคมไทย
; การประหยัด
; พลังงานไฟฟ้า
; สัปปุริสธรรม
Abstract: วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ “การวิเคราะห์การประหยัดพลังงานไฟฟ้าในสังคมไทยตามหลักสัปปุริสธรรม” โดยมีวัตถุประสงค์ (๑) เพื่อศึกษาการใช้พลังงานไฟฟ้าในสังคมไทยปัจจุบัน (๒) เพื่อศึกษาหลักสัปปุริสธรรมสำหรับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า (๓) เพื่อวิเคราะห์การประหยัดพลังงานไฟฟ้าตามหลักสัปปุริสธรรม โดยเป็นการศึกษาในเชิงเอกสาร แล้วนำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์เปรียบเทียบในเชิงพรรณนา ดังนี้ การใช้พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญอย่างยิ่งสำหรับมนุษย์ต่อการดำเนินชีวิตประจำวันทุกภาคส่วน สถิติของการใช้ไฟฟ้าของไทยตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๐๕ เป็นต้นมา ประเทศไทยใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยมีปัจจัยหลักคือ การขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ การส่งออก การจ้างงาน และการบริโภคภายในประเทศที่มีการขยายตัวดีมาก และการเพิ่มของประชากร จากแนวโน้มการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นมากและฟุ่มเฟือย หากในอนาคตไม่ดำเนินการให้มีการจัดการทรัพยากรพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประเทศไทยอาจจะประสบปัญหาการเกิดวิกฤตการณ์ทางพลังงานอย่างแน่นอน ทั้งนี้จึงมีมาตรการบังคับประหยัดพลังงานนี้เป็นโครงการปฏิบัติต่อเนื่อง เช่น พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อให้การใช้พลังงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด หลักสัปปุริสธรรมสำหรับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า หลักสัปปุริสธรรม ธรรม ๗ ประการ ประกอบด้วย ๑) ธัมมัญญุตา รู้หลักหรือรู้จักเหตุ ๒) อัตถัญญุตา รู้ความมุ่งหมายหรือรู้เหตุผล ๓) อัตตัญญุตา รู้จักตน ๔) มัตตัญญุตา รู้จักประมาณ ๕) กาลัญญุตา รู้จักกาลเวลา ๖) ปริสัญญุตา รู้จักชุมชน สังคม ๗) ปุคคลัญญุญา รู้จักบุคคล เป็นธรรมของคนดี มีคุณสมบัติความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีการดำเนินชีวิตอย่างเป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักความพอประมาณในการบริโภคใช้สอยปัจจัยสี่ตามหลักเศรษฐกิจแบบพุทธ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ท่านทรงนำมาเป็นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางแห่งการประมาณตน ใช้ในการพัฒนาชีวิต อยู่อย่างเรียบง่าย ซึ่งแนวคิดนี้สามารถนำมาปรับใช้ในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าและอนุรักษ์พลังงาน ลดการสูญเสียโดยเปล่าประโยชน์ ใช้ให้รู้คุณค่าก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด การประหยัดพลังงานไฟฟ้าเป็นหน้าที่ของทุกคนจะต้องมีความตระหนักรู้ ปฏิบัติตนตามหลักสัปปุริสธรรม ๗ ประการ และน้อมนำเอาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ มาใช้ในการดำเนินชีวิตโดยเฉพาะการใช้พลังงานไฟฟ้า ลดความสะดวกสบายให้น้อยลง การจำกัดการใช้ ตัวอย่างเช่น การเปิดเครื่องปรับอากาศตั้งอุณหภูมิที่เย็นพอเหมาะกับร่างกาย การเปิดไฟฟ้าให้แสงสว่างพอดีกับความต้องการของสายตา ปิดไฟที่ไม่จำเป็น รู้จักใช้ ดูแลและบำรุงรักษาทรัพย์สินสิ่งของเครื่องใช้ทั้งของตนและส่วนรวม เป็นต้น เป็นการใช้อย่างมีประโยชน์ และใช้อย่างมีคุณค่าและมีประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงานไฟฟ้าและการอนุรักษ์พลังงานเป็นการรักษาทรัพยากรธรรมชาติไว้ใช้ในอนาคตได้นานขึ้น ช่วยให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม
Abstract: The purpose of this thesis “An analysis of electrical energy saving in Thai social according to Sappurisa Dhamma is to (1) study the electrical energy used of Thai social, (2) study Sappurisa Dhamma for electrical energy saving and (3) analyze the electrical energy saving accordance with Sappurisa Dhamma. This is a documentary study with analysis, synthesis and descriptive comparisons method. The use of electrical energy is essential for mankind in daily life in all parts of Thailand. According to the statistics of electricity consumption in Thailand since the National Economic and Social Development Plan No. 1 in 1962, the trend of electricity consumption continues to increase every year. The main factor is economic growth from exports, employment and domestic consumption due to the increase in population. With the rising trend in electricity consumption and the extravagant direction, if there is no efficient energy resource management in the future, Thailand may face a crisis of energy. Government agencies have issued energy saving measures such as the Energy Conservation Promotion Act, 1992, the Royal Decree on the Establishment of a Control Building, 1995 to develop energy technology to be most effective. Sappurisa Dhamma consists of 1) the knowledge of the root cause 2) the knowledge of the reason 3) the knowledge of the mind 4) the knowledge of modesty 5) the knowledge of time 6) The knowledge of social and community and 7) the knowledge of the people. It is the principle of the good people who possess the perfect person, have a good life style, know the modesty in consumption and use the four factors in the Buddhist economy. His Majesty King Bhumibol Adulyadej has introduced the sense principle into the principle of Sufficiency Economy. It is a way of moderation and is used to develop a simple life. This concept can be applied to save energy, reduce losses, and raise awareness of the value of electricity. Energy saving is a duty of everyone. By implementing Sappurisa Dhamma and guide the sufficiency economy of His Majesty King Bhumibol Adulyadej used to live, especially the use of electricity, less comfort and reduce energy consumption, for example, opening the air conditioning to appropriate the body temperature, turn off unnecessary lights, is the most valuable and useful resource. Energy saving is not only a means of preserving natural resources in the future, but also contributing to the self and community.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: อยุธยา
Email: library@mcu.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Created: 2560
Modified: 2561-07-23
Issued: 2561-07-23
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 MCU600202007.pdf 2.52 MB21 2025-01-30 02:15:39
ใช้เวลา
0.051053 วินาที

สัมพันธ์ ดวงเพ็ชร
Title Contributor Type
การวิเคราะห์การประหยัดพลังงานไฟฟ้าในสังคมไทยตามหลักสัปปุริสธรรม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สัมพันธ์ ดวงเพ็ชร
พระมหาทวี มหาปญฺโญ
สมิทธิพล เนตรนิมิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
พระมหาทวี มหาปญฺโญ
Title Creator Type and Date Create
การศึกษาเปรียบเทียบหลักคำสอนเรื่องกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาทกับศาสนาเชน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ผศ.ดร.;ดร. ประพันธ์ ศุภษร;อาจารย์รังษี สุทนต์
พระมหาสมคิด ธีรธมฺโม (ทานะจิตต์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตตามหลักอริยสัจ ๔ ของเยาวชน : ศึกษาเฉพาะกรณีเยาวชนในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);พลตรี ดร.วีระ วงศ์สรรค์;ผศ.ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระสมชาย ปโยโค (ดำเนิน)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องสรรเสริญในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระราชสิทธิมุนี (วิ.);พระมหาทวี มหาปญฺโญ ผศ.ดร. ;ผศ.ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระปลัดเชาวลิต กิตฺติโสภโณ (เทวา)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาพาหุสัจจะในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระราชสิทธิมุนี (วิ.) ;พระมหาทวี มหาปญฺโญ ผศ.ดร. ;ผศ.ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระครูปลัด ชวลิต อคฺคปญฺโญ (ภู่นาค)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องอายตนะตามทรรศนะของพุทธทาสภิกขุ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
กรรณิการ์ ขาวเงิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาพฤติกรรมความเชื่อของชาวพุทธที่สนใจโหราศาสตร์ที่มีต่อ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);วีระ วงศ์สรรค์
ณฤดี วิวัชภูรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาวิเคราะห์อิทธิพลของคำสอนเรื่องพรหมในคัมภีร์พระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ ;ประพันธ์ ศุภษร
ชนาภัทร์ วงศ์โรจนภรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเจตคติ และความเข้าใจเกี่ยวกับเบญจกัลยาณธรรมในพระพุทธศาสนา ศึกษาเฉพาะกรณี : ชุมชนวัดโพธิ์เรียง เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ ;วีระ วงศ์สรรค์
พระมหาสว่าง จตฺตมโล (ถุนกระโทก)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการเรียนรู้ตามแนวพระพุทธศาสนา : ศึกษาเฉพาะกรณี วัดปัญญานันทาราม อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผศ.ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร, ป.ธ.๙, พ.ม., พธ.บ., พธ.ม., Ph.D. (Pali & Buddhist Studies);พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง), ผศ.ดร., ป.ธ. ๙, พธ.บ., ศน.ม.,M.Phil., Ph.D. (Buddhist Studies)
นางสาวชุติกาญจน์ ผลบุตร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษากำเนิดและพัฒนาการรามัญนิกายในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ผศ.ดร., ป.ธ. ๙, พธ.บ., ศน.ม.M. Phil., Ph.D.
พันเอก ณรงค์ ครองแถว
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาการปฏิบัติตนตามหลักธรรมในหลักสูตรหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ โรงเรียนฉิมพลี เขตตลิ่งชันกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ผศ.ดร. ป.ธ.๙, พธ.บ. (ปรัชญา), ศน.ม.(พุทธศาสน์ศึกษา),M.Phil., Ph.D. (Buddhist Studies);พลโท ดร.วีระ วงศ์สรรค์ กศ.บ. (เกียรตินิยม), น.บ., วท.บ., ศศ.บ., ศศ.ม., คม.,กศ.ด.
พระอภิชาติ สิริสุโข (ศรีสุขา)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์หลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนามนุษย์ตามช่วงวัยทั้งสาม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;สมิทธิพล เนตรนิมิต
พระมหาธงไชย วิสุทฺโธ (จันทสิทธิ์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
แรงจูงใจของชาวพุทธไทยต่อการจาริกแสวงบุญ ณ สังเวชนียสถาน ๔ ตำบล
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ ;วีระ วงศ์สรรค์
นิดา เหล่าฤกษ์อุทัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์การประหยัดพลังงานไฟฟ้าในสังคมไทยตามหลักสัปปุริสธรรม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
สัมพันธ์ ดวงเพ็ชร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์หลักอริยสัจ 4 ในการแก้ปัญหาการเล่นการพนันของเยาวชนไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาสำเริง ขนฺติสาโร (ทรัพย์สิงห์เรือง)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการประยุกต์ขันติและโสรัจจะเพื่อแก้ปัญหาของวัยรุ่นในสังคมไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);สมิทธิพล เนตรนิมิตร
ปุณณดา จันทรวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการปฏิบัติต่อเวทนาในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;บุญเลิศ โอฐสู
จินดา เฮงสมบูรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการปกครองสงฆ์ไทยในอนาคต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาสัญญา ขนฺติธมฺโม (ตรีสวัสดิ์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์เมตตาเพื่อแก้ปัญหาการขายสลากกินแบ่งรัฐบาลเกินราคา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง), ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร;บุญเลิศ โอฐสู
สุนันทา เลียงธนะฤกษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางส่งเสริมกตัญญูกตเวทีในสังคมไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระปลัดสมชาย ปโยโค ;พระมหาทวี มหาปญฺโญ ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
สุวรรณฐา ลึม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการรักษาศีล 5 : กรณีศึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี;Guidelines for Supporting the Five Precepts Practice : A Case Study of the Rambhai Barni Rajabhat University
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);พระมหาอดิเดช สติวโร
วิมลพรรณ หาญชนะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
วิธีการฝึกสติตามแนวทางพระพุทธศาสนาเพื่อปรับพฤติกรรมนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนพระมารดานิจจานุเคราะห์ กรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);บุญเลิศ โอฐสู
มะลิ อิงสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการปฏิบัติงานสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ในจังหวัดศรีสะเกษ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);สมิทธิพล เนตรนิมิตร
สุริยนต์ น้อยสงวน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพพระสอนศีลธรรมโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดระยอง
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);ตวงเพชร สมศรี
พระปลัดปรีชา นนฺทโก (จุลเจือ)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาวิเคราะห์เรื่องฤกษ์ตามคัมภีร์โหราศาสตร์ไทยที่มีผลต่อพุทธศาสนิกชน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);กฤษณา รักษาโฉม
พัชรี แก้วผลึก
วิทยานิพนธ์/Thesis
กลยุทธ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมทูตสายต่างประเทศ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาสุเทพ สุวฑฺฒโน (เหลาทอง)
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการคบเพื่อนของเด็กและเยาวชนไทยในสื่อสังคมออนไลน์เชิงพุทธบูรณาการ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);พระราชปริยัติมุนี (เทียบ สิริญาโณ);พระมหาอดิเดช สติวโร
ปารินันท์ ปางทิพย์อำไพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาวิเคราะห์การฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ของอนาคาริก ธรรมปาละ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สมิทธิพล เนตรนิมิตร;พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง)
พชรวีร์ ทองประยูร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษา พฤติกรรมความเชื่อของชาวพุทธที่สนใจโหราศาสตร์ ที่มีต่อหลักโหราศาสตร์ และหลักศรัทธา 4
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง) ;วีระ วงศ์สรรค์
ณฤดี วิวัชภูรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
สมิทธิพล เนตรนิมิตร
Title Creator Type and Date Create
การศึกษาเชิงวิเคราะห์อาหาเรปฏิกูลสัญญา ในการปฏิบัติกัมมัฏฐาน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสมภาร สมภาโร ผศ.;พระมหาบุญเลิศ ธมฺมทสฺสี;ผศ. ดร. สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระวิรัตน์ มหาปุญฺโญ (เมฆจินดา)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตตามหลักอริยสัจ ๔ ของเยาวชน : ศึกษาเฉพาะกรณีเยาวชนในโรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);พลตรี ดร.วีระ วงศ์สรรค์;ผศ.ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระสมชาย ปโยโค (ดำเนิน)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาพาหุสัจจะในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระราชสิทธิมุนี (วิ.) ;พระมหาทวี มหาปญฺโญ ผศ.ดร. ;ผศ.ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระครูปลัด ชวลิต อคฺคปญฺโญ (ภู่นาค)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธบัญญัติกับพระมหากษัตริย์ในสมัยพุทธกาล
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสุธีธรรมานุวัตร , ผศ.ดร.;ผศ.ดร. สมิทธิพล เนตรนิมิตร ;อาจารย์รังษี สุทนต์
พระครูสุทธิปริยัตยาทร จารุวฑฺฒโน (แย้มปิ๋ว)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหารธรรมเพื่อการพัฒนาจิตในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโ, ผ.ศ. ดร.ป.ธ. ๙, พธ.ม. (ปรัชญา), ศน.ม. (พุทธศาสน์ศึกษา), M. Phil., Ph.D. (Buddhist Studies); ผศ. ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร ป.ธ. ๙, พ.ม., พธ.บ. (ปรัชญา). พธ.ม. (พระพุทธศาสนา), Ph.D. (Pali& Buddhist Studies)
นางกรกนก รุจินาม
วิทยานิพนธ์/Thesis
สมถกัมมัฏฐานในฐานะเป็นบาทฐานของวิปัสสนากัมมัฏฐาน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร., ป.ธ.๙., MA., Ph.D.; พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร., ป.ธ.๙., MA., Ph.D. ; ผศ.ดร.สมิทธิพล เนตรนิมิตร ป.ธ.๙, พ.ม., พธ.บ., พธ.ม., Ph.D.
นายเสฐียร ทั่งทองมะดัน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างตัวชี้วัดความเป็นพลเมืองที่สอดคล้องกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสุธีธรรมานุวัตร ป.ธ.๙, M.A., Ph.D.;รองศาสตราจารย์ ดร. สมิทธิพล เนตรนิมิตร ป.ธ. ๙, พ.ม., พธ.บ.(ปรัชญา), พธ.ม., (พระพุทธศาสนา), Ph.D. (Pali & Buddhist Studies);ดร. จุฑามาศ วารีแสงทิพย์ วทบ., (เกียรตินิยม),อ.บ. (อภิธรรมบัณฑิต), พธ.ม.(พระพุทธศาสนา), พธ.ด.(
นายศรัณย์ เลิศรักษ์มงคล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาสุขภาพแบบองค์รวมวิถีพุทธในพระไตรปิฎก
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผศ.ดร. สมิทธิพล เนตรนิมิตร ป.ธ.๙, พธ.บ.(ปรัชญา), พธ.ม. (พระพุทธศาสนา), Ph.D. (Pali&Buddhist Studies).
พระมหาอุดร สุทฺธิ
าโณ (เกตุทอง)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาธรรมจักรในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผศ.ดร. สมิทธิพล เนตรนิมิตร ป.ธ.๙, พธ.บ. (ปรัชญา), พธ.ม.(พระพุทธศาสนา), Ph.D. (Pali & Buddhist Studies).
พระมหาอุดร สุทฺธิญาโณ (เกตุทอง)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาวิเคราะห์เรื่องปัญญาของสตรีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
บุญรัศมิ์ ฉิมอินทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์การประหยัดพลังงานไฟฟ้าในสังคมไทยตามหลักสัปปุริสธรรม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
สัมพันธ์ ดวงเพ็ชร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างพระสงฆ์กับคฤหัสถ์ในพระพุทธศาสนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระอุดมปิฎก (วิจารณ์ มหาปญฺโญ)
วิทยานิพนธ์/Thesis
อุบายวิธีบรรเทาอกุศลมูลในชีวิตประจำวัน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสุธีธรรมานุวัตร;ทรงวิทย์ แก้วศรี;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
แม่ชีสุนันทา เรียงแหลม
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการประพฤติพรหมจรรย์เพื่อส่งเสริมจริยธรรมในสังคมไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี (เหมประไพ);พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาบุญแสง ปุญฺญสโม (จิตรีเหิม)
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางส่งเสริมกตัญญูกตเวทีในสังคมไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระปลัดสมชาย ปโยโค ;พระมหาทวี มหาปญฺโญ ;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
สุวรรณฐา ลึม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาวิเคราะห์ความสำคัญของการใช้อุปมาเพื่อสื่อธรรมที่ปรากฏในคัมภีร์โอปัมมวรรค
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม;สมิทธิพล เนตรนิมิตร
พระมหาทองสุข ปญฺญาวณฺโณ (พรหมมีเดช)
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 33
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,536
รวม 3,569 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 103,594 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 218 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 176 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 27 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 14 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 104,035 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48