แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ศึกษาแนวทางการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตร
A Study of the Insight Meditation Practice Appearing in Salāyatanavibhanga Sutta

keyword: การปฏิบัติ
; สฬายตนวิภังคสูตร
; วิปัสสนาภาวนา
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ เพื่อศึกษาสฬายตนวิภังคสูตร เพื่อศึกษาวิปัสสนาภาวนาในคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาท เพื่อศึกษาแนวทางการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตร โดยศึกษาข้อมูลจากคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาทและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวบรวม สรุป วิเคราะห์ เรียบเรียงบรรยายเชิงพรรณนา ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ จากการศึกษาพบว่า สฬายตนวิภังคสูตร เป็นพระสูตรที่ว่าด้วยการจำแนกอายตนะ ๖ ประการ ในพระสูตรกล่าวถึง อายตนะภายใน ๖ อายตนะภายนอก ๖ หมวดวิญญาณ ๖ หมวดผัสสะ ๖ มโนปวิจาร ๑๘ สัตตบท ๓๖ ในอายตนะภายนอกที่เป็นที่ตั้งของโสมนัส (ยินดี) ๖ โทมนัส (ยินร้าย) ๖ อุเบกขา ๖เป็น ๑๘ และ สัตตบท การดำเนินไปของสัตว์โลก ๓๖ โดยยกเอาโสมนัส (ยินดี) โทมนัส (ยินร้าย) และอุเบกขาขึ้นเป็นที่ตั้งเป็นไปในอายตนะภายนอกทั้ง ๖ นั้น โดยจำแนกออกเป็น เคหสิตโสมนัส ๖ เนกขัมมสิตโสมนัส ๖ เคหสิตโทมนัส ๖ เนกขัมมสิตโทมนัส ๖ เคหสิตอุเบกขา ๖ เนกขัมมสิตอุเบกขา ๖ วิปัสสนาภาวนาในคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาท ได้แก่ การปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ซึ่งเป็นทางสายเอกหนทางเดียวที่ทำให้เกิดปัญญา ทำให้จิตบริสุทธิ์หมดจดพ้นจากทุกข์และสังสารวัฏ อันเป็นจุดหมายสูงสุดของพุทธศาสนา สติปัฏฐาน ๔ คือ การใช้สติพิจารณากำหนดรู้อยู่ทุกขณะถึงอาการที่เกิดขึ้นของกาย เวทนา จิตและธรรม อารมณ์ในการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาเรียกว่า วิปัสสนาภูมิ ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒ อริยสัจ ๔ ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ และเมื่อย่อลงก็เหลือเพียงรูปและนาม แนวทางการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตร เพื่อให้เกิดสติสัมปชัญญะ คือ รู้เท่าทันอิริยาบถตามสภาพความเป็นจริง เมื่อผู้ปฏิบัติมีสติกำหนดได้จดจ่อต่อเนื่องอย่างเท่าทันโดยละเอียดสมบูรณ์ทุก ๆ การเคลื่อนไหวในอิริยาบถต่าง ๆ การทำงานของสติในการพิจารณารูปและนามก็ปรากฏชัดตามลำดับของวิปัสสนาญาณซึ่งจะทำให้ผู้ปฏิบัติเห็นสภาวะที่เกิดขึ้นของรูปนามตามความเป็นจริง โดยความเป็นไตรลักษณ์ ผู้ปฏิบัติมีปัญญาพิจารณารูปและนามอย่างนี้ ผู้ปฏิบัติจะมีจิตบริสุทธิ์เป็นขั้น ๆ ไปจนถึงบรรลุมรรคผลนิพพานได้ในที่สุด
Abstract: This thesis has three objectives; to study the doctrine of Salāyatanavibhanga Sutta, to study the Insight Meditation Practice in the Theravāda Buddhist Scriptures, to study the Insight Meditation Practice in Salāyatanavibhanga Sutta. Clarified data are taken from the Theravadā Buddhist scriptures and other related documents, then composed, summarized, analyzed, explained in details, corrected and verified by Buddhist scholars. From the study it found that; From the study it was found that Salāyatanavibhanga Sutta is the Sutta stated about the distinction of the six Āyatana. They are internal six sense organs, the external six sense objects, the six consciousness (Viññāṇa), the six contacts (Phassa), the eighteen conceptual absorption (Manopavicāra). The ongoing of thirty six Sattapada which bases on Sommanasa (happiness) Dumanassa (unhappiness) and Upekkhā (equanimity) can be classified into six Kehasita somanassa, six Nekkhammasita somanassa, six Kehasita domanassa, six Nekkhammasita dumanassa, six Kehasita Upekkhā, six Nekkhammasita Upekkhā. The Insight Meditation Practice in Theravāda Buddhist Scriptures is the Four Foundation of Mindfulness meditation practice which is the only one way to generate wisdom, purification of mind, to liberate from suffering and the cycle of birth and death, which is the highest aim of Buddhism. The Four Foundations of Mindfulness are the contemplation of body, feeling, mind, and mind objects. It is the state of mind to be observed and work in the areas of insight meditation called Vipassanābhumi which are the Five Aggregates, the Twelve Āyatana, the Eighteen Elements, the Twenty-two Indriya, the Four Noble Truth, and the Dependent Origination, or say in short is physical phenomenon and mental phenomenon. The Insight Meditation Practice in Salāyatanavibhanga Sutta is to generate Sampajana (clear comprehension) and to aware what happened on physical postures as they really are. When the practitioner can keep on mindfulness with quality of consecutive consistency, it can enhances more insight wisdom and to realize the nature of physical and mental phenomina which are impermanent, suffering. One’s mind can be purified step by step and eventually to attain Maggañāṇa, Phalañāṇa and Nibbāna.
Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Center Library
Address: AYUTTHAYA
Email: library@mcu.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Created: 2558
Modified: 2561-07-19
Issued: 2561-07-19
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 MCU580208039.pdf 9.56 MB18 2021-12-09 18:57:18
ใช้เวลา
0.01882 วินาที

พระครูใบฎีกาวัชระ นิมโล (สุกโชติรัตน์)
Title Contributor Type
ศึกษาแนวทางการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูใบฎีกาวัชระ นิมโล (สุกโชติรัตน์)
พระมหาภูมิชาย อคฺคปญฺโญ (มกรพันธ์)
เสนาะ ผดุงฉัตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
พระมหาภูมิชาย อคฺคปญฺโญ (มกรพันธ์)
Title Creator Type and Date Create
ศึกษาแนวทางการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสติสัมปชัญญสูตร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาภูมิชาย อคฺคปญฺโญ (มกรพันธ์);เสนาะ ผดุงฉัตร
พระครูสุนทรกาญจนาคม (แก้วเกิด สุพฺพจฺโจ)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาการกำหนดรู้ทุกขอริยสัจเพื่อการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสัจจวิภังคสูตร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาภูมิชาย อคฺคปญฺโญ (มกรพันธ์) ;เสนาะ ผดุงฉัตร
พระปลัดธวัช สุทฺธจิตฺโต (สืบกลัด)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาแนวทางการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาภูมิชาย อคฺคปญฺโญ (มกรพันธ์);เสนาะ ผดุงฉัตร
พระครูใบฎีกาวัชระ นิมโล (สุกโชติรัตน์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาเพื่อการละความเป็นบ้า (อุมฺมตฺตก) ในคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาภูมิชาย อคฺคปญฺโญ (มกรพันธ์);เสนาะ ผดุงฉัตร
พระสมโภชน์ อินฺทวิริโย (สมบูรณ์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
เสนาะ ผดุงฉัตร
Title Creator Type and Date Create
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคำสอนเรื่องกฎแห่งกรรมตามที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนากับคำสอนเรื่องกฎแห่งกรรมของ พระธรรมสิงหบุราจารย์ วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ (ละลง);ประพันธ์ ศุภษร;เสนาะ ผดุงฉัตร
ปัทมา เอื้อรักษ์โอฬาร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาแนวทางการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสติสัมปชัญญสูตร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาภูมิชาย อคฺคปญฺโญ (มกรพันธ์);เสนาะ ผดุงฉัตร
พระครูสุนทรกาญจนาคม (แก้วเกิด สุพฺพจฺโจ)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาแนวทางการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาภูมิชาย อคฺคปญฺโญ (มกรพันธ์);เสนาะ ผดุงฉัตร
พระครูใบฎีกาวัชระ นิมโล (สุกโชติรัตน์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาตทังควิมุตติ ในการเจริญวิปัสสนาภาวนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูพิพิธวรกิจจานุการ;เสนาะ ผดุงฉัตร
พระใบฏีกาพิพัฒน์ จิตฺตวฑฺโฒ (รัตนผกา)
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการปฏิบัติตามหลักคำสอนเกี่ยวกับอนิจจลักษณะในพระพุทธศาสนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาทวี มหาปญฺโญ;เสนาะ ผดุงฉัตร
ชุมพล ชนะนนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาการพิจารณาธาตุในการเจริญวิปัสสนาภาวนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูพิพิธวรกิจจานุการ (มานิตย์ เขมคุตฺโต);เสนาะ ผดุงฉัตร
พระครูวิสิฐจันทโสภิต (ประสิทธ์ ยุตฺตธมฺโม)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษารูปแบบการสอนวิปัสสนาภาวนาเฉพาะกรณีสำนักวิปัสสนา วัดสุวรรณประสิทธิ์ กรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูพิพิธวรกิจจานุการ;เสนาะ ผดุงฉัตร
พระครูปลัดนิคม นาควโร (รอดอุไร)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาหลักธรรมในการเจริญวิปัสสนาภาวนาในฉวิโสธนสูตร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูพิพิธวรกิจจานุการ;เสนาะ ผดุงฉัตร
พระมหาชูชีพ สุทฺธิญาโณ (อินประดิษฐ์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาเพื่อขจัดกิเลส ที่ปรากฏในสามัญญผลสูตร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูพิพิธวรกิจจานุการ;เสนาะ ผดุงฉัตร
พระอภิมุข สมจิตฺโต (อภิชัยเดชาวงศ์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาขันธ์ 5 และอายตนะ 12 ในการเจริญวิปัสสนาภาวนาในคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูพิพิธวรกิจจานุการ;เสนาะ ผดุงฉัตร
แม่ชีดวงใจ กุทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 7
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,746
รวม 2,753 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 170,721 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 636 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 426 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 46 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 6 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 171,882 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48