แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

แนวทางการออกแบบองค์ประกอบทางกายภาพเมืองเพื่อแก้ปัญหามลภาวะทางเสียงจากการจราจรในกรุงเทพมหานคร
UEBAN DESIGN GUIDELINES FOR TRAFFIC NOISE POLLUTION PROBLEMS IN BANGKOK

ThaSH: ผังเมือง
ThaSH: มลพิษทางเสียง
Abstract: ปัญหามลภาวะทางเสียงจากการจราจรในกรุงเทพมหานคร มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากไม่สามารถควบคุมปริมาณรถยนต์บนท้องถนน ควบคู่กับกายภาพของพื้นที่กิจกรรมริมถนน ที่เอื้อต่อการสัมผัสเสียงโดยตรง ซึ่งในปัจจุบันมีเพียงมาตรการแก้ปัญหา โดยการควบคุมระดับเสียงของเครื่องยนต์ ที่พบว่ายังไม่เพียงพอต่อการแก้ปัญหาโดยภาพรวมของพื้นที่เมือง มาตรการทางผังเมือง มีบทบาทสำคัญในการแก้ปัญหาในบริบทเมือง หากยังไม่พบการนำมาตรการทางผังเมืองมาใช้ในการแก้ปัญหานี้ ดังนั้นงานวิจัยนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ลักษณะมลถาวะทางเสียงจากการจราจรในกรุงเทพมหานคร และองค์ประกอบทางกายภาพเมืองในพื้นที่ริมถนน เพื่อเสนอแนวทางการออกแบบองค์ประกอบทางกายภาพเมือง ให้สามารถแก้ปัญหามลภาวะทางเสียงจากการจราจร โดยการตรวจวัดระดับเสียงในพื้นที่ริมถนน ที่มีความแตกต่างกันขององค์ประกอบทางกายภาพ ได้แก่ มวลอาคาร ลักษณะช่องเปิดอาคาร พื้นที่ว่าง และอุปกรณ์ประกอบถนนแบบถาวร เพื่อสร้างเงื่อนไขการออกแบบเรื่องระยะและสัดส่วนขององค์ประกอบทางกายภาพที่ส่งผลต่อการลดลงของเสียง ผลการวิจัยพบว่า กายภาพเมืองมีผลต่อการลดลงของเสียงที่แตกต่างกัน สามารถแบ่งได้ 2 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่ริมถนน สามารถลดเสียงโดยตรงจากการจราจร และ พื้นที่หน้าอาคาร สามารถลดเสียงจากการสะท้อนองค์ประกอบทางกายภาพ โดยการออกแบบระยะและสัดส่วนขององค์ประกอบทางกายภาพที่เหมาะสม ประกอบไปด้วย (1) ไม้พุ่ม มีผลทำให้เสียงลดลง ทั้งระยะริมถนนและระยะหน้าอาคาร (2) อุปกรณ์ประกอบถนน ที่อยู่ในระยะริมถนน มีผลทำให้เสียงลดลง (3) พื้นที่ที่มีความหลากหลายขององค์ประกอบหรือมีความไม่สม่ำเสมอของระนาบทางแนวตั้ง เช่น ลักษณะการเปิดหน้าร้าน มีผลทำให้เสียงลดลง และ (4) การออกแบบ ส่วนเว้า ส่วนยื่น ของอาคารที่พ้นจากแนวระนาบด้านหน้าอาคาร มีผลทำให้เสียงจากการสะท้อนจากด้านบนในระยะหน้าอาคารลดลง นอกจากนั้น ปัจจัยเรื่องสัดส่วนขององค์ประกอบทางกายภาพมีความสำคัญในการลดเสียงมากกว่าปัจจัยเรื่องระยะ แต่หากต้องการแก้ปัญหามลภาวะทางเสียงให้มีประสิทธิภาพ ต้องมีการออกแบบสัดส่วนขององค์ประกอบทางกายภาพ ร่วมกันทั้งระยะริมถนนและระยะหน้าอาคาร
Abstract: Traffic noise pollution in Bangkok is becoming more and more severe due to the inability to control a number of cars on the road as well as the physical activity of the street responding to the direct noise perception. Currently, there was only measure to control the noise volume from cars that was not effective to solve this problem. The overall areas in the city and urban planning measures were important roles to solve the problem, but there was still no measure effective enough to resolve. Therefore, the research’s objective was to study the relationship between the nature of traffic noise pollution in Bangkok and the physical elements of streetscape to be presented as urban design guideline for traffic noise pollution problems by examining the noise volume in the road-side areas of different physical elements of streetscape. These included building, void of the buildings, open space and street furniture to create the condition for urban design guidelines , its setback and proportion as well as the physical elements of streetscape that could reduce noise. The results of this study was found that the urban physical elements reduced the noise pollution differently that can be divided into two types of areas: road-side areas that can reduce traffic noise directly and building façade areas that can reflect noise from its physical elements of streetscape. To design the building and its proportion suitably consisted of (1) bush: it reduced the noise volume in both road-side areas and building façade areas, (2) street furniture: they were located in the road-side areas that could reduce noise, (3) areas with the variety of the components or uneven vertical plane such as void of the buildings for store that could reduce noise and (4) building design: concave and convex of the building that were not in the vertical plan in front of the building could reflect noise from above in front area of the building. Moreover, the factors of the proportion of the physical elements of streetscape were important for noise reduction more than setback factor. In care of effective noise pollution reduction, the design must concern about the proportion of the physical fundamentals as well as the distance of road-side areas and building façade areas.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2558
Modified: 2561-07-14
Issued: 2561-07-14
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51133
tha
Spatial: กรุงเทพฯ
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 5873361725[1].pdf 14.35 MB13 2024-07-15 12:57:54
ใช้เวลา
0.01713 วินาที

จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
Title Creator Type and Date Create
การปรับปรุงพื้นที่สาธารณะและเส้นทางเชื่อมต่อบริเวณถนนทรงวาด เขตสัมพันธวงศ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
กีรติ สัทธานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การฟื้นฟูย่านตลาดพระโขนง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิลุบล คล่องเวสสะ;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
พรนภา พรพันธุ์ไพบูลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นที่ บริเวณสถานีรถไฟฟ้า บีทีเอสราชเทวี และย่านพาณิชยกรรมประตูน้ำ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อังสนา บุณโยภาส;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ

วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาบริเวณโดยรอบจุดเชื่อมต่อศูนย์กลางระบบขนส่งมวลชนร่วมมักกะสัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พนิต ภู่จินดา;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ชณัฐ กาญจนะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการฟื้นฟูย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมืองเพื่อสร้างความหลากหลายกรณีศึกษา พื้นที่สีลม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
อนาวิล เจียมประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณสถานีรถไฟฟ้า บีทีเอส ราชเทวี และย่านพาณิชยกรรมประตูน้ำ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อังสนา บุณโยภาส ;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
พรสิริ สายด้วง
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาพื้นที่ย่านตลาดพระโขนงและตลาดอ่อนนุช กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ; จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
นเรศ ทองงามขำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการปรับปรุงพื้นที่ชุมชนกุนนทีและพื้นที่ต่อเนื่องกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;นพนันท์ ตาปนานนท์;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ทวีศักดิ์ เอื้อเฟื้อ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบเพื่อปรับปรุงพื้นที่สาธารณะบริเวณตลาดเก่าเยาวราช
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ชัยยศ จิตเอกวิโรจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาพื้นที่ท่าเรือประตูน้ำและพื้นที่ต่อเนื่อง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย ;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
เพกา เสนาะเมือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารและพื้นที่โดยรอบ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
วิรุจ ถิ่นนคร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่พาณิชยกรรมบริเวณตลาดปากน้ำโพจังหวัดนครสวรรค์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นพนันท์ ตาปนานนท์;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
วัชระ งามนิกุลชลิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของตลาดนัดจตุจักรกับการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
พจน์มาศ ไชยสุระภวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบพื้นที่เมืองเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมขังภายใต้มาตรการการให้สิทธิ์อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่ม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
พฤฒิเชษฐ์ เลิศอุดมพฤกษา
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบองค์ประกอบทางกายภาพเมืองเพื่อแก้ปัญหามลภาวะทางเสียงจากการจราจรในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ยุวดี วิเท่ห์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบเพื่อลดผลกระทบจากมลภาวะทางแสงของป้ายโฆษณาแอล.อี.ดี.ในย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมือง กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ;วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์
สลิลทิพย์ อรุณนิธิ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการจัดวางกลุ่มอาคารเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนกรณีศึกษาศูนย์กลางธุรกิจและพาณิชยกรรม สีลม-สาทร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
พชร ตังสวานิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่บริเวณเสาชิงช้า กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;นพนันท์ ตาปนานนท์;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
สุมนมาลย์ กาญจนะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบเพื่อการพัฒนาพื้นที่จุดเปลี่ยนถ่ายการคมนาคมบริเวณแยกบางกะปิ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นพนันท์ ตาปนานนท์;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
กฤติน วิจิตรไตรธรรม
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบปรับปรุงฟื้นฟูพื้นที่พาณิชยกรรมย่านราชประสงค์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อังสนา บุณโยภาส;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
นรา พงษ์พานิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การออกแบบปรับปรุงองค์ประกอบชุมชนย่านกิ่งเพชร เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ทิพวรรณ แสนจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณจุดเปลี่ยนการสัญจรสี่แยกบางนา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ;จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
กานน เทพคเชนทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการของการใช้พื้นที่สาธารณะสำหรับการชุมนุมทางการเมืองในกรุงเทพมหานคร (พ.ศ.2500-2563)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ;พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์
วรวัณณี ลาภอำนวยเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการปรับปรุงกายภาพที่ดินเพื่อให้สามารถพัฒนาตามอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) ของผังเมืองรวม: กรณีศึกษาย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมืองกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิตติศักดิ์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
วีรภัทร เจนหัตถการกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 48
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,695
รวม 2,743 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 174,055 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 411 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 403 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 69 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 53 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 5 ครั้ง
รวม 175,001 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48