แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การศึกษาสมรรถภาพทางกายของอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษา ในวิทยาลัยพลศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
A study of the physical fitness of the physical education instructors of the college of physical education in the north-easten region

ThaSH: สมรรถภาพทางกาย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบและสร้างเกณฑ์สมรรถภาพทางกายของอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษาในวิทยาลัยพลศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษาชายในวิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดชัยภูมิ วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดอุดรธานี วิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 59 คน ดำเนินการวิจัยโดยให้กลุ่มประชากรเข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 9 รายการ คือ อัตราการเต้นของหัวใจขณะพักความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวในขณะพัก แรงบีบมือ แรงเหยียดหลัง แรงเหยียดขา ความอ่อนตัว ความจุปอด เปอร์เซนต์ไขมันในร่างกาย และสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุด นำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบแต่ละรายการมาวิเคราะห์ โดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ความปรวนแปรทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายของอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษาในวิทยาลัยพลศึกษา กลุ่มอายุ 20 - 30 ปี มีค่าเฉลี่ยดังนี้ อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 72.11 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวในขณะพัก 117.29 มิลลิเมตรปรอท แรงบีบมือ 0.76 กิโลกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แรงเหยียดหลัง 1.69 กิโลกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แรงเหยียดขา 1.86 กิโลกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ความอ่อนตัว 13.55 เซนติเมตร ความจุปอด 59.36 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม เปอร์เซนต์ไขมันในร่างกาย 5.73 เปอร์เซนต์ และสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุด 39.64 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อนาที 2. ค่าเฉลี่ยของการทดสอบสมรรถภาพทางกายของอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษาในวิทยาลัยพลศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มอายุ 31-40 ปี มีค่าเฉลี่ยดังนี้ อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก 69.75 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว ในขณะพัก 123.75 มิลลิเมตรปรอท แรงบีบมือ 0.76 กิโลกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แรงเหยียดหลัง 1.60 กิโลกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แรงเหยียดขา 1.73 กิโลกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ความอ่อนตัว 12.32 เซนติเมตร ความจุปอด 53.26 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม เปอร์เซนต์ไขมันในร่างกาย 9.33 เปอร์เซนต์และสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุด 33.93 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อนาที 3. สมรรถภาพทางกายของอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษาในวิทยาลัยพลศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มอายุ 20 - 30 ปี และ 31 – 40 ปี ในแต่ละรายการ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในรายการทดสอบ อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก ความดันโลหิตขณะบีบตัวในขณะพัก แรงบีบมือ แรงเหยียดหลัง แรงเหยียดขา ความอ่อนตัว ความจุปอด และเปอร์เซนต์ไขมันในร่างกายส่วนในรายการทดสอบสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุด ในกลุ่มอายุ 20 – 30 ปี อาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษาในวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ แตกต่างกับวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดชัยภูมิ วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดอุดรธานี และวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดมหาสารคาม ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 และในกลุ่มอายุ 31 – 40 ปี อาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษาในวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดศรีสะเกษแตกต่างกับวิทยาลัยพลศึกษาอุดรธานี และวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดมหาสารคาม ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 และ .05 ตามลำดับ 4. เกณฑ์สมรรถภาพทางกายของอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษาในวิทยาลัยผู้สอนวิชาพลศึกษาในวิทยาลัยพลศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีดังนี้ 4.1 แรงบีบมือ ระดับดีมาก ดี พอใช้ ต่ำ และต่ำมาก จะมีแรงบีบมือต่อน้ำหนักตัว ทั้งอายุ 20 - 30 ปี และ 31 - 40 ปี ดังนี้ 0.95 กิโลกรัมขึ้นไป, 0.86 – 0.94 กิโลกรัม, 0.68 – 0.85 กิโลกรัม, 0.59 – 0.67 กิโลกรัม และ 0.58 กิโลกรัมลงมา ตามลำดับ 4.2 แรงเหยียดหลัง ระดับดีมาก ดี พอใช้ ต่ำ และต่ำมาก จะมีแรงเหยียดหลังต่อน้ำหนักตัว ดังนี้ อายุ 20 - 30 ปี ตั้งแต่ 2.30 กิโลกรัมขึ้นไป, 2.00 – 2.29 กิโลกรัม, 1.40 – 1.99 กิโลกรัม, 1.10 – 1.39 กิโลกรัม และตั้งแต่ 1.09 กิโลกรัมลงมา ตามลำดับ และอายุ 31 - 40 ปี ตั้งแต่ 2.17 กิโลกรัมขึ้นไป, 1.89 – 2.16 กิโลกรัม, 1.33 – 1.88 กิโลกรัม, 1.05 – 1.32 กิโลกรัม และตั้งแต่ 1.04 กิโลกรัมลงมา ตามลำดับ 4.3 แรงเหยียดขา ระดับดีมาก ดี พอใช้ ต่ำและต่ำมาก จะมีแรงเหยียดขาต่อน้ำหนักตัว ดังนี้ อายุ 20 -30 ปี ตั้งแต่ 2.61 กิโลกรัมขึ้นไป, 2.24 – 2.60 กิโลกรัม, 1.50 – 2.23 กิโลกรัม, 1.13 – 1.49 กิโลกรัม และตั้งแต่ 1.12 กิโลกรัมลงมา ตามลำดับ และอายุ 31 -40 ปี ตั้งแต่ 2.40 กิโลกรัมขึ้นไป, 2.07 – 2.39 กิโลกรัม, 1.41 – 2.06 กิโลกรัม, 1.08 – 1.40 กิโลกรัม และตั้งแต่ 1.07 กิโลกรัมลงมา ตามลำดับ 4.4 ความอ่อนตัว ระดับดีมาก ดี พอใช้ ต่ำและต่ำมาก จะมีความอ่อนตัว ดังนี้ อายุ 20 -30 ปี ตั้งแต่ 24.0 เซนติเมตรขึ้นไป, 18.8 – 23.9 เซนติเมตร, 8.4 – 18.7 เซนติเมตร, 3.2 – 8.3 เซนติเมตร และตั้งแต่ 3.1 เซนติเมตรลงมา ตามลำดับ และอายุ 31 -40 ปี ตั้งแต่ 28.4 เซนติเมตรขึ้นไป, 20.4 – 28.3 เซนติเมตร, 4.4 – 20.3 เซนติเมตร,-4.4 – 4.3 เซนติเมตร และตั้งแต่ -4.5 เซนติเมตรลงมา ตามลำดับ 4.5 ความจุปอด ระดับดีมาก ดี พอใช้ ต่ำและต่ำมาก จะมีความจุปอดต่อน้ำหนักตัวดังนี้ อายุ 20 -30 ปี 74.89 ลูกบาศก์เซนติเมตรขึ้นไป, 67.13 – 74.88 ลูกบาศก์เซนติเมตร, 51.61 – 67.12 ลูกบาศก์เซนติเมตร, 43.85 – 51.60 ลูกบาศก์เซนติเมตร และตั้งแต่ 43.84 ลูกบาศก์เซนติเมตรลงมา ตามลำดับ และอายุ 31 -40 ปี ตั้งแต่ 75.01 ลูกบาศก์เซนติเมตรขึ้นไป, 64.14 – 75.00 ลูกบาศก์เซนติเมตร 42.40 – 64.13 ลูกบาศก์เซนติเมตร, 31.53 – 42.39 ลูกบาศก์เซนติเมตรและตั้งแต่ 31.52 ลูกบาศก์เซนติเมตร ตามลำดับ 4.6 เปอร์เซนต์ไขมันในร่างกาย ระดับมากเกินไป มาก ปานกลาง ค่อนข้างน้อย และน้อย จะมีปริมาณไขมัน ดังนี้ อายุ 20 –30 ปี ตั้งแต่ 9.28 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป, 7.51 – 9.27 เปอร์เซนต์, 3.97 – 7.50 เปอร์เซนต์, 2.20 – 3.96 เปอร์เซนต์ และตั้งแต่ 2.19 เปอร์เซนต์ลงมาตามลำดับ และอายุ 31 -40 ปี ตั้งแต่ 15.50 เปอร์เซนต์ขึ้นไป, 12.42 – 15.49 เปอร์เซนต์, 6.26 – 12.41 เปอร์เซนต์, 3.18 – 6.25 เปอร์เซนต์ และตั้งแต่ 3.17 เปอร์เซ็นต์ลงมา ตามลำดับ 4.7 สมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุด ระดับดีมาก ดี พอใช้ ต่ำ และต่ำมาก จะมีสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุด ดังนี้ อายุ 20 -30 ปี ตั้งแต่ 62.29 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาทีขึ้นไป, 50.97 – 62.28 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาที, 28.33 – 50.96 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาที, 17.01 – 28.32 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาที และตั้งแต่ 17.00 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาทีลงมา ตามลำดับ และอายุ 31 – 40 ปี ตั้งแต่ 53.53 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาทีขึ้นไป, 43.74 – 53.52 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาที, 24.16 – 43.73 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาที, 14.37 – 24.15 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาที และตั้งแต่ 14.36 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาทีลงมา ตามลำดับ
Abstract: The purposes of this study were to investigate and to compare the physical fitness of the physical education instructors in the college of physical education in the northeastern region and to set up the physical fitness levels for the physical education instructors. The subjects were 59 male physical education instructors from four colleges of physical education in northeastern region Chaiyapoom, Udornthani, Mahasarakarm and Srisaket. The physical fitness variables which used to compare were : resting heart rate, resting systolic blood pressure, vital capacity, grip strength, back muscle strength, leg muscle strength, body flexibility, percent of body fat and maximum oxygen putake. The obtained data were then analysed in order to find the means and standard deviations and the One Way Analysis of variance in which the significant difference among groups were determined. It was found that : 1. The means of test items for the physical education instructors in the age group 20 – 30 years were 72.11 beats per minute for the resting heart rate, 117.29 mm.Hg. for the resting systolic blood pressure, 0.76 kilograms per body weight for the grip strength, 1.69 kilograms per body weight for the back muscle strength, 1.86 kilograms per body weight for the leg muscle strength, 13.55 centimeters for the body flexibility, 59.36 milliliters per body weight for the vital capacity, 5.73 percents for the percent of body fat and 39.64 milliliters per body weight per minute for the maximum oxygen uptake. 2. The means of test items for the physical education instructors in the age group 31 – 40 years were 69.75 beats per minute for the resting heart rate, 123.75 mm.Hg. for the resting systolic blood pressure, 0.76 kilograms per body weight for the grip strength, 1.60 kilograms per body weight for the back muscle strength, 1.73 kilograms per body weight for the leg muscle strength, 12.32 centimeters for the body flexibility, 53.26 milliliters per body weight for the vital capacity, 9.33 milliliters percents for the percent of body fat and 33.93 milliliters per body weight per minute for the maximam oxygen uptake. 3. The physical fitness of test items for the physical education instructors in the college of physical education in the northeastern region in the age group 20 – 30 years 31 – 40 years were not significant difference at the .05 level for the resting heart rate, resting systolic blood pressure, grip strength, back muscle strength, leg muscle strength, body flexibility, vital capacity and percent of body fat. While the maximum oxygen uptake for the age group 20-30 years the physical education instructors in the college of physical education in Srisaket was better than the Chaiyapoom, Udornthani and Mahasarakarm with significant difference at the .01 level and the age group 31-40 years of the physical education instructors in the college of physical education in Srisaket was better than the Udornthani and Mahasarakarm with Significant difference at the .01 and .05 level respectively. 4. The physical fitness levels for the physical education instructors in the college of physical education in the northeastern region were categorized as following : 4.1 The grip strength of group 20-30 and 31-40 years were categorized into excellent, good, moderate, rather low and low level as 0.95 and over; 0.86-0.94; 0.68-0.85; 0.59-0.67; 0.58 and under respectively 4.2 The back muscle Strength of group 20-30 years were categorized into excellent good, moderate, rather low and low level as 2.30 and over; 2.00-2.29; 1.40-1.39; 1.09 and under respectively and the age group of 31-40 years as 2.17 and over; 1.89-2.16; 1.33-1.88; 1.05-1.32; 1.04 and under respectively 4.3 The leg muscle strength of group 20-30 years were categorized into excellent, good, moderate, rather low and low level as 2.61 and over; 2.24-2.60; 1.50-2.23; 1.13-1.49; 1.12 and under respectively and the group of 31-40 years as 2.40 and over; 2.07-2.39; 1.41-2.06; 1.08-1.40; 1.07 and under respectively. 4.4 The flexibility of group 20-30 years were categorized into excellent, good, moderate, rather low and low level as 24.0 and over, 18.8-23.9; 8.4-18.7; 3.2-8.3; 3.1 and under respectively and the age group of 31-40 years as 28.4 and over; 20.4-28.3; 4.4-20.3; -4.4-4.3; -4.5 and under respectively. 4.5 The vital capacity of group 20-30 years were categorized into excellent, good, moderate, rather low and low level as 74.89 and over; 67.13-74.88; 51.61-67.12; 43.85-51.60; 43.84 and under respectively and the age group of 31-40 years as 75.01 and over; 64.14-75.00; 42.40-64.13; 31.53-42.39; 31.52 and under respectively 4.6 The percent of body fat of group 20-30 years categorized into high, rather high, moderate, rather low and low level as 9.28 and over; 7.51-9.27; 3.97-7.50; 2.20-3.96; 2.19 and under respectively and the age group of 31-40 years as 15.50 and over; 12.42-15.49; 6.26-12.41; 3.18-6.25; 3.17 and under respectively 4.7 The maximum oxygen uptake of group 20-30 years were categorized into excellent, good, moderate, rather low and low level as 62.29-and over; 50.97-62.28; 28.33-50.96; 17.01-25.32; 17.00 and under respectively and the age group of 31-40 years as 53.53 and over; 43.74-53.52; 24.16-43.73; 14.37-24.15; 14.36 and under respectively.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2528
Modified: 2563-09-07
Issued: 2561-05-07
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
ISBN: 9745645435
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Sura_Su_front[1].pdf 579.39 KB
2 Sura_Su_ch1[1].pdf 517.82 KB
3 Sura_Su_ch2[1].pdf 585.99 KB
4 Sura_Su_ch3[1].pdf 271.6 KB1 2022-09-09 17:35:49
5 Sura_Su_ch4[1].pdf 1 MB
6 Sura_Su_ch5[1].pdf 630.68 KB
7 Sura_Su_back[1].pdf 719.61 KB
ใช้เวลา
-0.911808 วินาที

เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
Title Creator Type and Date Create
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบันทึกและประมวลผลสถิติการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ชาญชัย ชอบธรรมสกุล;รัตนา เฮงสวัสดิ์;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ดำรงค์ฤทธิ์ จันทรา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจที่มีต่อสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุดและอัตราการเต้นของหัวใจขณะฟื้นตัว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ปนัดดา ฉิมตระกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโปรแกรมการฝึกเพื่อปรับปรุงจุดเริ่มล้าในนักกีฬาฟุตบอล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
พงษ์เอก สุขใส
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการประเมินผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายตามแบบการทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานระหว่างประเทศสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
กิตติพงษ์ สุพรรณวิบูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการพัฒนาโปรแกรมการฝึกที่มีต่อจุดเริ่มล้าในนักกีฬาเซปักตะกร้อประเภทคู่หญิงทีมชาติไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
กิตตินนท์ จรูญศรีสวัสดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการสูบบุหรี่ก่อนและหลังการออกกำลังกายที่มีต่อคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และสมรรถภาพในการจับออกซิเจนสูงสุด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;สุรพันธ์ สิทธิสุข
นฤดี พจน์พงศ์สรรค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลการออกกำลังกายโดยการวิ่งเหยาะ กับการขี่จักรยานอยู่กับที่ ที่มีต่อสมรรถภาพทางกาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ขนิษฐา พูลสวัสดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สมรรถภาพกลไกของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ชูศรี กลิ่นอุบล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการใช้พลังงานในขณะแข่งขันของนักกีฬามวยสากลสมัครเล่นหญิงทีมชาติไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์
ทิพย์ธาอร เหลืองบริบูรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมรรถภาพทางกายของอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษา ในวิทยาลัยพลศึกษาภาคกลาง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
จันทนี เก็จวลีวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลการฝึกความอดทนแบบอนากาศนิยม ด้วยความหนักของงานสูงสุด โดยใช้ระยะเวลาต่างกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เจริญทัศน์ จินตนเสรี;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
อุไร พรหมมา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการกำหนด ความหนัก ความถี่ และระยะเวลาที่แตกต่างกันในการออกกำลังกาย ที่มีต่อสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ประชุมพร ช่ำชอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบของการออกกำลังกายแบบฟ้อนเจิงเพื่อส่งเสริมภาวะสุขภาพและสุขสมรรถนะของสตรีสูงอายุ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;พีระพงศ์ บุญศิริ
ไพรัช โกศัลย์พิพัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการพัฒนาโปรแกรมกการฝึกที่มีต่อจุดเริ่มล้าในนักกีฬาเทนนิสชาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ธัชนิติ วีระศิริวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลของแบบฝึกแอโรบิกและแบบฝึกแอนแอโรบิกที่มีผลต่อจุดเริ่มล้าของนักกีฬาฟุตบอล รุ่นอายุ 18 ปี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
จิราดร ถิ่นอ่วน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาแบบทดสอบการก้าวขึ้นลง เพื่อทำนายสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดในนักกีฬาบาสเกตบอลชาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์ ;อรอนงค์ กุละพัฒน์
วรรณวิสา บุญมาก
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาตัวบ่งชี้ความสามารถพิเศษของนักกีฬามวยสากลชายระดับเยาวชน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;พิชิต เมืองนาโพธิ์
วัชรกัญจน์ หอทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการใช้พลังงานขณะแข่งขันในนักกีฬาเซปักตะกร้อประเภทคู่หญิงทีมชาติไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ธนิดา คฌาณิน ไทยานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเปรียบเทียบการใช้กล้ามเนื้อหลักบริเวณแกนกลางลำตัวในการเต้นลีลาศประเภทละตินอเมริกันของนักกีฬาลีลาศสมัครเล่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์ ;จิตอนงค์ ก้าวกสิกรรม
เฉลิมพล น้อยอิ่ม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาโมเดลตำแหน่งจุดกระทบบนเอ็นหน้าไม้เทนนิสที่ทำให้เกิดความเร็วสูงสุดในการเสิร์ฟลูกแฟล็ทของนักกีฬาเยาวชนชายทีมชาติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์ ;ศิลปชัย สุวรรณธาดา
ชัยสิทธิ์ ภาวิลาส
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบระหว่างการฝึกแบกน้ำหนักกระโดดกับการฝึกกระโดดด้วยยางยืดแบบมีลูกรอกที่มีต่อพลังกล้ามเนื้อสูงสุดในการกระโดดแนวดิ่งของนักกีฬาวอลเลย์บอลเยาวชนหญิง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
พันธ์วดี อินทรมณี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายของคนวัยผู้ใหญ่ ที่ออกกำลังกายแบบต่างกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
อภิชาต รักษากุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบระดับแรงเบรกแบบเอ็คเซ็นตริกที่แตกต่างกัน ขณะแบกน้ำหนักกระโดดที่มีผลฉับพลันต่อพลังกล้ามเนื้อในนักกีฬาชายที่มีความแข็งแรงสัมพัทธ์สูง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ธงทอง ทรงสุภาพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบการวิเคราะห์สมรรถนะในกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด สำหรับนักกีฬาชาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;ประวิตร เจนวรรธนะกุล
ก.รวีวุฒิ ระงับเหตุ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์แบบแผนและปัจจัยในการทำประตูของทีมชาติบราซิลและทีมชาติสเปนในการแข่งขันฟุตซอลโลก ณ ประเทศไทย 2012
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ศิวณัติ เพชรย้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์รูปแบบที่ส่งผลต่อการได้คะแนนของทีมนักกีฬาบาสเกตบอลชาย ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 2012
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
วรรธนะ ทรัพย์ประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลของการฝึกเต้นรำแบบบอลรูมกับแบบละตินอเมริกันที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
จิตรา หมั่นเฮง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเกณฑ์ปกติสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา อายุ 13-15 ปี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ศราวุธ รุ่งเรือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการและปัญหาในการออกกำลังกายของผู้ติดเชื้อเอดส์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
สมลักษณ์ สะหรั่งบิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักกีฬาเซปัคตะกร้อทีมชาติไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ภาณุวัตร นุชอุดม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการฝึกตามโปรแกรมการออกกำลังกายที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของผู้ติดเชื้อโรคเอดส์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ปิยวรรณ บรรจง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการเข้าร่วมในโปรแกรมการออกกำลังกายและโปรแกรมนันทนาการ ที่มีต่อความวิตกกังวลของผู้ติดเชื้อโรคเอดส์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ภาสวรรณ พันธุมะบำรุง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการวิ่งเหยาะและการฝึกแอโรบิคดานซ์ ที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ชัยเวช สุวรรณวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายที่ใช้ความหนักแตกต่างกัน ที่มีต่อสารชีวเคมีใน เลือดของหญิงวัยกลางคน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
วรเบญญา พิทักษ์อรรณพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการฝึกสเต็ปแอโรบิคที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของสตรีวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;รัตนา หาญสงคราม
ฑิฆัมพร พงษ์พรต
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายที่ใช้ระยะเวลาต่างกัน ที่มีต่อสารชีวเคมีในเลือด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
อนุทิน เพชรอุทัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลการออกกำลังกายแบบอากาศนิยมระหว่างผู้รับประทานอาหาร มังสวิรัติและผู้รับประทานอาหารทั่วไป
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
วันชัย บุญรอด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบความวิตกกังวลของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใน และนอกโครงการพัฒนากีฬาชาติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ธัชนาถ ทองประกอบ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างไขมันในร่างกายกับความสามารถ ในการเคลื่อนไหวทั่วไปในเด็กนักเรียนอายุ 10-12 ปี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
เรืองศักดิ์ เจียมพานทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
รุจ แสงอุดม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการฝึกกำลังกล้ามเนื้อแบบไอโซโทนิคด้วยความเร็วต่างอัตรา ที่มีต่อความสามารถในการยืนกระโดดในแนวดิ่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ปิยพงษ์ รองหานาม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการฝึกแอโรบิคดานซ์ที่มีต่อความอดทนของระบบไหลเวียน และเปอร์เซนต์ไขมันของร่างกาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
รัตนา กิติสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของกิจกรรมค่ายพักแรมต่อชาวค่าย ทางด้านบุคลิกภาพการแสดงตัว-เก็บตัว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;เกษมศักดิ์ ภูมิศรีแก้ว
สุรัตน์ แสงลออ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายบางด้านภายหลังการฝึกแอโรบิคดานซ์ ในช่วงระยะเวลาที่ต่างกันของผู้ที่เคยผ่านการฝึกแอโรบิคดานซ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เทพวาณี หอมสนิท;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ปริศนา อุนสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการฝึกแบบหมุนเวียนที่มีต่อความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต และเปอร์เซ็นต์ไขมันของร่างกายของผู้ชายสูงอายุ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
อดิศร คันธรส
วิทยานิพนธ์/Thesis
สมรรถภาพทางกลไกของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนสาธิต สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
วันชัย ขนบดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างการจับออกซิเจนสูงสุดด้วยวิธีจักรยานของออสตรานด์และวิธีการก้าวขึ้นลงของออสตรานด์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
จิตตราณี ประสงค์เจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบระยะการทุ่มน้ำหนักที่ได้จากผล ของการฝึกทักษะการทุ้มน้ำหนักเพียงอย่างเดียว กับการฝึกทักษะการทุ่มน้ำหนักควบคู่กับการสร้างความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ไพศาล โรจนวิภาต
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบสัมฤทธิผลทางการเรียนวิชาพลศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีบุคลิกภาพแบบเก็บตัวและแบบแสดงตัว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์ ;พรรณราย ทรัพยะประภา
บุญทัน ม่วงชื่น
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาและความต้องการกิจกรรมพลศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียนสอนเด็กพิการทางหู
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
กลยุทธ ไกรฤกษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์ไขมันของร่างกายของครูพลศึกษา และครูที่ไม่ได้สอนวิชาพลศึกษา ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ยุทธนา บัวแย้ม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมรรถภาพทางกายของอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษา ในวิทยาลัยพลศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
สุระ สุบินดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมรรถภาพทางกายของอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษา ในวิทยาลัยพลศึกษาภาคเหนือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
บุญเรือง ถาคำฟู
วิทยานิพนธ์/Thesis
สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง ของวิทยาลัยครูภาคตะวันตก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;เกษมศักดิ์ ภูมิศรีแก้ว
สุรินทร์ สายกฤษณะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสมรรถภาพทางกายของอาจารย์ผู้สอนวิชาพลศึกษา ในวิทยาลัยพลศึกษาภาคใต้
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ชาญชัย ศิริพันธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการฝึกด้วยน้ำหนักที่มีต่อเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
วรัญญู รีรมย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาแบบทดสอบความสามารถในการเคลื่อนที่ตามตำแหน่งการเล่นในกีฬาฟุตบอล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;จุฑา ติงศภัทิย์
ปธานศาสน จับจิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบการจับออกซิเจนรองสูงสุดโดยเครื่องลู่กล ระหว่างวิธีของบรู๊ซกับวิธีของบัลกี้
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
ธิบดินทร์ จิตรีมิตร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างการจับออกซิเจนสูงสุดด้วยวิธีจักรยานของออสตรานด์และคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
พะเยาว์ ธนัญญากร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการฝึกแอโรบิคดานซ์ในระดับความถี่ต่างกันที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงทางสมรรถภาพทางกาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
พัชนี ภูศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบสมรรถภาพในการจับออกซิเจนสูงสุดระหว่างวิธีฟื้นตัว ด้วยวิธีสูดออกซิเจนกับไม่สูดออกซิเจนจากเครื่องให้ออกซิเจน หลังการออกกำลังกาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
อดุลย์ จันละคร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอรูปแบบโรงเรียนกีฬาต้นแบบในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Jirawat Khajornsilp.;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
จิราวัฒน์ ขจรศิลป์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลของการฝึกพลัยโอเมตริกควบคู่การฝึกด้วยน้ำหนัก การฝึกพลัยโอเมตริกด้วยน้ำหนัก และการฝึกเชิงซ้อน ที่มีต่อการพัฒนาพลังกล้ามเนื้อขา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;ชูศักดิ์ เวชแพศย์
ชนินทร์ชัย อินทิราภรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว คลายตัว และอัตราการเต้นของหัวใจขณะออกกำลังกาย ด้วยจักรยานแบบนั่งเหยียดเท้า และนั่งวางเท้าถีบ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
สิรินาถ ทองประกอบ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโปรแกรมการฝึกเพื่อพัฒนาจุดเริ่มล้าในนักวิ่งระยะ 1500 เมตร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;ชูศักดิ์ เวชแพศย์
โรม วงศ์ประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างการจับออกซิเจนสูงสุดโดยวิธีจักรยานของออสตรานด์ กับดรรชนีการวัดค่าการทำงานของหัวใจ โดยวิธีการใช้เครื่องวัดค่าความแปรผันของอัตราการเต้นของหัวใจ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
สุเทพ ชานุ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการฝึกการออกกำลังกายในน้ำที่มีต่อความอดทน ของระบบไหลเวียนโลหิตความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และเปอร์เซ็นต์ไขมันของร่างกาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
รุ่งทิพย์ สุยะเสียน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการกำหนด ความหนัก และระยะเวลาที่แตกต่างกันในการออกกำลังกาย ที่มีต่อการจับออกซิเจนสูงสุด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
สบสันติ์ มหานิยม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุด ในการออกกำลังกายในที่ระดับสูงจากระดับน้ำทะเลต่างกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
สุขไสว จีระยา
วิทยานิพนธ์/Thesis
สมรรถภาพทางกายนักกรีฑาระดับจังหวัดที่เข้าร่วมการแข่งขัน ประจำปีพุทธศักราช 2530 จังหวัดสุรินทร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เฉลิม ชัยวัชราภรณ์
อุรารักษ์ สุขสวัสดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของตัวซับแรงต่อการสั่นที่บริเวณด้ามจับขณะตีลูกเทนนิส
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
ฐิติ มีโอภาสมงคล;บุญศักดิ์ หล่อพิพัฒน์;เฉลิม ชัยวัชราภรณ์;ทศพร ยิ้มลมัย
เมษัณฑ์ ปรมาธิกุล
บทความ/Article
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 8
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,963
รวม 2,971 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 171,099 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 637 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 426 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 46 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 6 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 172,261 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48