แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ลักษณะอำนาจนิยมในครอบครัวไทย
Authoritarianism in Thai Family

ThaSH: ครอบครัว -- ไทย
Abstract: การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายอย่างกว้างๆ เพื่อศึกษาว่าครอบครัวไทยโดยทำไปมีลักษณะอำนาจนิยมหรือไม่ และในกรณีที่ผลการศึกษายืนยันวามีลักษณะดังกล่าวก็จะดำเนิน การต่อไปด้วยวัตถุประสงค์เฉพาะ 2 ประการคือ ประการแรก เพื่อประเมินอิทธิพลของ บิดามารดา/ผู้ปกครอง (ในกระบวนการอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม) ที่มีต่อการปลูกฝังและพัฒนาทัศนคติและค่านิยมที่บ่งถึงลักษณะอำนาจนิยมในตัวเด็ก และประการที่สองเพื่อ วินิจฉัยว่าครอบครัวและโรงเรียนมีอิทธิพลร่วมกันในการปลูกฝังลักษณะอำนาจนิยมของเยาวชนไทยหรือไม่เพื่อความสะดวกและการประหยัดในการวิจัย ผู้ศึกษาได้เลือกเอานักเรียน/นักศึกษา ซึ่งเป็นสมาชิกรุ่นเยาว์ของครอบครัวตามปกติ เป็นกลุ่มตัวอย่างสำหรับการศึกษา ในครั้งนี้ โดยให้พวกเขาประเมินตัวเองและบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง อันได้แก่ครู/อาจารย์ในอดีต ครู/อาจารย์ในปัจจุบันและเพื่อนสนิท กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกผู้มีอาวุโสของครอบครัว (ซึ่งในที่นี้ก็คือบิดามารดา/ผู้ปกครอง) และของคนอื่นในแวดวงของสถาบัน การศึกษา ก็คือสิ่งที่นักเรียน/นักศึกษารับรู้นั้นเอง เพื่อที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ข้อมูลที่ใช้สำหรับการศึกษาในครั้งนี้ได้มา โดยวิธีการออกแบบสอบถามที่สร้างขึ้นเองและมาตราวัดทัศนคติที่ดัดแปลงมาจาก California F Scale โดยให้นักเรียนจำนวน 181 คน และนักศึกษาจำนวน 97 คน เป็นผู้ตอบ ในชั้นเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาดังกล่าวได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ตามพื้นฐานความรู้และประสบการณ์ของผู้วิจัยเกี่ยวกับการมีลักษณะอำนาจนิยม และไม่มีลักษณะอำนาจนิยมของสถาบันการศึกษาต่างๆ ในเขตกรุงเทพมหานครเป็นสำคัญ เนื่องจากอาจเป็นไปได้ที่ว่า ลักษณะอำนาจนิยมของนักเรียน/นักศึกษาอาจจะ ไม่สอดคล้องกับของกลุ่มต่างๆ ผู้วิจัยจึงได้นำเอาแนวความคิดเกี่ยวกับ "กลุ่มอ่างอิง" มาใช้เพื่อช่วยในการแก้ปัญหา (ในกรณีที่เกิดความไม่สอดคล้องดังกล่าว) และช่วยให้ทราบว่าบ่อเกิดอันแท้จริงของทัศนคติและค่านิยมที่บ่งถึงลักษณะอำนาจนิยมของนักเรียน/ นักศึกษานั้นเป็นอย่างไร ผู้วิจัยได้ตั้งสมมุติฐานมีลักษณะทั่วไปข้อหนึ่งคือ ครอบครัวไทยมีลักษณะอำนาจนิยมและตั้งสมมุติฐานไว้อีก 2 ข้อ เพื่อแสดงให้เห็นความเป็นเหตุเป็นผลกันระหว่างทัศนคติและค่านิยมของบิดามารดา/ผู้ปกครองกับของบุตร และระหว่างทัศนคติและค่านิยมของครู/อาจารย์และเพื่อนสนิทกับของนักเรียน/นักศึกษา ซึ่งเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม ผลการศึกษาได้ข้อมูลมาสนับสนุนสมมุติฐานที่ได้ตั้งไว้อย่างเพียงพอถึง 4 ใน 5 ข้อ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้คือ 1. เกือบ 70 เปอร์เซ็นต์ของนักเรียน/นักศึกษามีลักษณะอำนาจนิยม 2.50 กว่าเปอร์เซ็นต์ของบิดามารดา/ผู้ปกครองมีลักษณะอำนาจนิยม 3. มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลางระหว่างลักษณะอำนาจนิยมของนักเรียน/นักศึกษากับบิดามารดา/ผู้ปกครอง 4. ไม่พบความสัมพันธ์ในลักษณะอำนาจนิยมระหว่างครู/อาจารย์ทั้งในอดีตและในปัจจุบันกับนักเรียน/นักศึกษา 5. สัดส่วนของนักเรียน/นักศึกษา ซึ่งทั้งบิดามารดา/ผู้ปกครองและครู/อาจารย์เป็นผู้ที่มีลักษณะอำนาจนิยมสูงกว่าสัดส่วนของนักเรียน/นักศึกษาที่บิดามารดา/ผู้ปกครองหรือครู/อาจารย์ มีลักษณะอำนาจนิยมแต่เพียงฝ่ายเดียว นอกจากนั้นยังพบด้วยว่า ผู้ที่มีลักษณะอำนาจนิยมแตกต่างไปจากผู้ที่ไม่มีลักษณะอำนาจนิยมในด้านอายุและระดับการศึกษา กล่าวคือ สัดส่วนของผู้มีลักษณะอำนาจนิยมในกลุ่มอายุ 16 - 18 ปีสูงกว่าของกลุ่มอื่นๆ สำหรับตัวแปรเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรอื่นๆ อันได้แก่ เพศ ลำดับการเกิด ภูมิลำเนา อาชีพของบิดามารดา/ผู้ปกครอง และโครงสร้างของสถาบันการศึกษาไม่ได้เป็นเครื่องชี้ความแตกต่างในเรื่องของการมีลักษณะอำนาจนิยม
Abstract: The general objective of this research is to investigate whether Thai family in general is characterized by authoritarianism. In case the answer is affirmative, it was designed to serve two specific purposes: the first, to measure the inflement of the parent in the process of socialization, on the formation and development of the offspring's authoritarian attitudes and values; the second, to determine whether family socialization and school socialization combine to affect the degree of authoritarianism found among Thai youths. In view of expediency and economy, the investigator took high school and university students, being junior members of the typical household,, as both the primary source of information concerning their own authoritarian attitudes and values and the secondary source of information about the same characteristics attributed by them to their parents, teachers, and close friends. In other words, information about the family senior members, in this case the parents, and others in the school setting were what the student-subject perceived. In order to achieve the above-mentioned aims, the data for this study were assembled by means of self-administered questionnaires and attitude scales ( the California F Scales) completed by 181 high school students and 97 university students in their classrooms. These subjects were purposively selected on the basis the investigator's knowledge about the authoritarian or non-authoritarian nature of Bangkok's educational institutions. In view of the possibility that there might be a discrepancy between the reported characteristics of her student-subjects and those of others under consideration, the investigator introduced the concept of "reference group" and used it in an attempt to solve such a problem and to identify the real source of their authoritarian attitudes and values. One general hypothesis was formulated as a suggested indication of authoritarianism in Thai family. Two others were advanced in such a way as to test the "causal" relationship between parental attitudes and values and those of their off springs, on the one hand, and between the same kind of attitudes and values of non-family members (teachers and close friends) and those of the student-subjects on t. 2 other hand. The last two hypotheses were given as a suggested solution of the difficulty which was conceived of as a discrepancy between parental attitudes and values and those of school authorities. The main findings of the present study lend moderate empirical support to four of the five hypotheses mentioned above. Their details are given as follows: 1) Nearly seventy percent of the student-subjects can be characterized as authoritarians. 2) A little above fifty percent of their parents were reported as having the said characteristics. 3) The degree of association (as measured by Gamma) between the characteristics of the above two groups was moderate , 4) No relationship was found between the student-subject's authoritarian attitudes and values and those of his school teachers/ lecturers. 5) More authoritarians were found among those student- subjects who have both authoritarian parents and teachers/lecturers than among their counterparts who have authoritarian parents but non-authoritarian teachers/lecturers and vice versa. The finding6also show that authoritarians were found to differ from non-authoritarians in terms of age and educational level. Significantly higher percentage of authoritarians was found among students in the 16-18 age group than among the rest. But such other demographic characteristics as sex, birth order, residential areas or place of birth, parental occupation and school structure play no part in the explanation of differences in the degree of authoritarian attitudes and values.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2526
Modified: 2561-05-18
Issued: 2561-05-01
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
ISBN: 9745617733
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28340
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Ruangrat_pa_front[1].pdf 5.92 MB13 2024-12-24 14:27:17
2 Ruangrat_pa_ch1[1].pdf 20.66 MB17 2023-01-23 15:15:04
3 Ruangrat_pa_ch2[1].pdf 13.18 MB13 2023-01-23 15:15:36
4 Ruangrat_pa_ch3[1].pdf 23.46 MB8 2023-01-23 15:22:25
5 Ruangrat_pa_ch4[1].pdf 3.25 MB9 2022-10-04 14:44:39
6 Ruangrat_pa_back[1].pdf 10.91 MB9 2022-10-04 14:44:45
ใช้เวลา
0.025984 วินาที

เรืองรัตน์ ปัญญายง
Title Contributor Type
ลักษณะอำนาจนิยมในครอบครัวไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เรืองรัตน์ ปัญญายง
เสริน ปุณณะหิตานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
เสริน ปุณณะหิตานนท์
Title Creator Type and Date Create
การศึกษาภาวะเอเลียนเนชันในบรรดาลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสริน ปุณณะหิตานนท์
สมชัย วงศ์ประเสริฐสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
แบบแผนการเลือกคู่ครอง : ศึกษาเฉพาะประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
ศิริสุข ยืนหาญ, 2509-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบริหารงานแบบได้มีส่วนร่วมกับความพึงพอใจในงาน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
จุรี เพ็ชรรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความยึดมั่นผูกพันและความรู้สึกแยกตัวออกห่างจากองค์การอาสาสมัคร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
อัมพร พรหมเกิด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสนใจต่อการศึกษาพระปริยัติธรรมของพระสงฆ์ : ศึกษากรณีพระนิสิตมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์;ปาริชาติ สุขุม
พระมหาสุข สุวีโร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลกระทบจากการที่ผู้หญิงสวมบทบาทผู้บังคับบัญชาต่อผู้ชายที่อยู่ใต้บังคับบัญชา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
ปราณี เดชวิทยาพร, 2503-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคุมคามทางเพศ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
วิมนา ธรรมปรีชา, 2505-
วิทยานิพนธ์/Thesis
ครอบครัวกับความแตกต่างระหว่างเพศในการกระทำผิด : ทดสอบ power-control theory ของ John Hagan
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
นิตยา ราตรีวิจิตร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน : ศึกษาแบบแผนตามมาตรวัดแบกัตต์แมน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
อภิชาต การิกาญจน์, 2497-
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลกระทบของการที่มารดาทำงานนอกบ้านต่อบุตร กรณีศึกษานักเรียนมัธยมปลาย และนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
จิราพร ดีคง, 2506-
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ในข้อบัญญัติและกิจกรรมกับความคาดหวังและการรับรู้ความคาดหวังในบทบาทหัวหน้าแผนกวิชา : ศึกษาเฉพาะกรณีวิทยาเขตสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กระทรวงศึกษาธิการ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
วรนารถ แก้วมงคล, 2495
วิทยานิพนธ์/Thesis
การระดมพลังและการเข้าร่วมการคัดค้านการสร้างกระเช้าลอยฟ้าดอยสุเทพ : การศึกษาแนวจิตวิทยาสังคม (Mobilization of participants for demonstration against Dai Suthep Skyline Project : A social psychological study)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
วิชนี บุนนาค, 2496-
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความยึดมั่นผูกพันในศาสนาของชาวพุทธ : ศึกษาเฉพาะกรณีชาวพุทธในกลุ่มวัดพระธรรมกาย พุทธสถานสันติอโศก และวัดชลประทานรังสฤษดิ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
อัคคี ศรีทราชัยกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงสร้างอำนาจในชุมชน : ศึกษากรณีการมีส่วนร่วมในกิจการชุมชนแออัด ทางรถไฟ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
เบญจมาศ สวนศิลป์พงศ์, 2502-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้กัญชาและสารระเหยของนักเรียนวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร: การเรียนรู้ทางสังคม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
นิรมล เปลี่ยนจรูญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาอิทธิพลของประสบการณ์เดิมต่อความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การเสี่ยง ถูกลงโทษกับพฤติกรรมการกระทำผิดวินัยนักศึกษาทั้งในปัจจุบันและอนาคต : ศึกษากรณีนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
มรกต เจริญสวัสดิ์, 2499-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการรวมตัวเป็นพันธมิตรชั่วคราวของนักการเมืองท้องถิ่น : ศึกษากรณีสมาชิกสภาจังหวัดนครศรีธรรมราช
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
จำนงค์ แรกพินิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเคลื่อนที่ทางอาชีพของผู้ใช้วิชาชีพ ศึกษากรณีนักศึกษาเก่าพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
จุไรลักษณ์ ก๋งเทียม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเข้าร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
ประสิทธิ์ สันติกาญจน์, 2503-
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการจำแนกแตกต่างเชิงโครงสร้างกับการพัฒนาของ ประชากร : ศึกษาเฉพาะกรณีประชากรในอำเภอเมือง และอำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
วิภาพันธ์ ก่อเกียรติขจร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวัดค่า anomie [อโนมี] เชิงจิตวิสัย และความสัมพันธ์ระหว่าง การวัดค่าแบบ position discontent [โพซิชัน ดิสคอนเทนต์] และแบบ anomia [อโนเมีย] : ศึกษาเฉพาะกรณีนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
สมพงษ์ ดุลยอนุกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการเลือกยุทธวิธีในขบวนการทางสังคม : ศึกษากรณีการคัดค้านการสร้างเขื่อนน้ำโจน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
วรรณี พฤฒิถาวร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเข้าสู่งานบริการทางเพศแบบแอบแฝงของสตรีที่มีการศึกษาในสถานเริงรมย์กรณีศึกษาค็อกเทลเลาน์จ ผับ และคาราโอเกะ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
นภาภรณ์ หะวานนท์;เสริน ปุณณะหิตานนท์;อรรณพ โพธิสุข
จงจิตต์ โศภนคณาภรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาปัญหาทางครอบครัวของผู้ป่วยเรื้อรัง ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสริน ปุณณะหิตานนท์
กัญญา สุวรรณกิจบริหาร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ประสิทธิผลของการลงโทษในการป้องกันและแก้ไขพฤติกรรมเบี่ยงเบน : ศึกษาเฉพาะกรณีนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสริน ปุณณะหิตานนท์
สุนันทา เชื้อชาติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเอเลียนเนชั่นในมหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เสริน ปุณณะหิตานนท์
เฉลียว ฤกษ์รุจิพิมล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเรื่องทัศนคติทางการเมือง ความรู้ความเข้าใจและความสนใจในการเลือกตั้ง ของผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในเขตกรุงเทพมหานคร วันที่ 4 เมษายน 2519
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เสริน ปุณณะหิตานนท์
วิภาภรณ์ ปราโมช ณ อยุธยา
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของผู้นำหมู่บ้านที่มีต่อการพัฒนาสาธารณสุขขั้นมูลฐาน : การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทผู้นำในสามหมู่บ้านของจังหวัดบุรีรัมย์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสริน ปุณณะหิตานนท์
อนันต์ ลิขิตประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาแบบผู้นำในสภาสังคมสงเคราะห์ : การประยุกต์ใช้ทฤษฎี 3 มิติของวิลเลี่ยม เจ. เรดดิ้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสริน ปุณณะหิตานนท์
สมเกียรติ ประสิทธิ์วุฒิเวชช์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ลักษณะอำนาจนิยมในครอบครัวไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสริน ปุณณะหิตานนท์
เรืองรัตน์ ปัญญายง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มไทยพุทธกับไทยมุสลิมในจังหวัดนราธิวาส : ศึกษาระยะทางสังคมเฉพาะกรณี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เสริน ปุณณะหิตานนท์
ปาลิต ผ่องแผ้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของคุรุสภาในการส่งเสริมวิชาชีพครู
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสริน ปุณณะหิตานนท์
วิชิต เมฆยงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ลักษณะกลุ่มเพื่อนของเด็กและเยาวชนกระทำผิดในสถานฝึกและอบรม : ศึกษาเฉพาะกรณีสถานฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชาย (บ้านกรุณา)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสริน ปุณณะหิตานนท์;อารง สุทธาศาสน์
อัชณา ลิมป์ไพฑูรย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างผู้ต้องขังและเจ้าหน้าที่ ในเรือนจำคลองเปรมกับทัณฑสถานหญิง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเสริฐ เมฆมณี;เสริน ปุณณะหิตานนท์
ยงยุทธ ภู่กำชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การมองตนเองของคนพิการในกระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เสริน ปุณณะหิตานนท์
ดวงกมล เวชบรรยงรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สังคมแบบดั้งเดิมที่กำลังเปลี่ยนสภาพ : การศึกษาหมู่บ้านสองแห่งในจังหวัดขอนแก่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสริน ปุณณะหิตานนท์
สมศักดิ์ ศรีสันติสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทัศนคติต่อการยอมรับของใหม่และลักษณะการยอมรับของชาวนา ในจังหวัดขอนแก่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสริน ปุณณะหิตานนท์
สุวรรณ บัวทวน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเกี่ยวกับตัวตนและพฤติกรรมเบี่ยงเบนของเด็กวัยรุ่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เสริน ปุณณะหิตานนท์
อ้อมเดือน สดมณี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ชุมชนกับความยึดมั่นผูกพันในศาสนาของชาวไทยมุสลิม : ศึกษากรณี ไทยมุสลิม อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสริน ปุณณะหิตานนท์
จุไรรัตน์ สวัสดิภาพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 11
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,204
รวม 2,215 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 173,230 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 640 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 433 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 46 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 8 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 174,404 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48