แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองลูกค้าธนาคารพาณิชย์ โดยผู้ตรวจการธุรกรรมธนาคารพาณิชย์
The Legal Measures on the Protection of Commercial Bank's Customers by the Banging Ombudsman.

ThaSH: การคุ้มครองผู้บริโภค -- กฏหมายและระเบียบข้อบังคับ.
ThaSH: ธนาคารพานิช -- ไทย.
Abstract: ธนาคารพาณิชย์เป็นผู้ประกอบธุรกิจด้านการเงินการธนาคารมีบทบาทสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ ธุรกรรมธนาคารพาณิชย์ที่สำคัญได้แก่ การรับฝากเงิน การให้สินเชื่อกู้ยืมและการให้บริการในรูปแบบต่างๆ มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์จำนวนมากเป็นธุรกิจที่มีผลกระทบต่อประชาชนส่วนใหญ่ การดำเนินธุรกิจของธนาคารพาณิชย์จะต้องมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและมีเทคโนโลยีทันสมัย พนักงานจะต้องมีความระมัดระวังเป็นพิเศษ เมื่อมีปัญหาข้อพิพาทหรือปัญหาความยุ่งยากเกิดขึ้นไม่ว่าจะเกิดจากปัญหาความผิดพลาดของพนักงาน ปัญหาความผิดพลาดของเครื่องมือเทคโนโลยีหรือ ปัญหาข้อพิพาทกฎหมาย ในประเทศไทยมีกระบวนการแก้ไขเยี่ยวยาที่สำคัญคือการร้องเรียนต่อองค์กรภายใน การร้องเรียนต่อธนาคารแห่งประเทศไทยหรือหน่วยราชการอื่น และการฟ้องร้องต่อศาล สำหรับการร้องเรียนต่อองค์กรภายในและการร้องเรียนต่อธนาคารแห่งประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายรองรับเป็นพิเศษ ส่วนการฟ้องร้องต่อศาลลูกค้าจะตกอยู่ในฐานะผู้เสียเปรียบเพราะขาดความรู้ในระบบธนาคาร อีกทั้งมีภาระการพิสูจน์ความผิดของธนาคาร เสียค่าใช้จ่ายจำนวนมาก และมีความล่าช้าในการดำเนินกระบวนวิธีพิจารณา ดังนั้นการคุ้มครองลูกค้าธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยยังขาดมาตรการทางกฎหมายและกระบวนการพิเศษเพื่อระงับข้อพิพาท จากการศึกษาพบว่าในต่างประเทศคือ ประเทศสหราชอาณาจักร ประเทศแคนาดา ประเทศออสเตรเลีย ประเทศอินเดีย และประเทศสวิสเซอร์แลนด์ กลุ่มธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยได้ร่วมกันจัดตั้งผู้ตรวจการธุรกรรมธนาคารพาณิชย์ (banking ombudsman) โดยความสมัครใจ มีความเป็นอิสระ และมีวัตถุประสงค์เพื่อระงับข้อพิพาทหรือปัญหายุ่งยากที่เกิดจากการให้บริการของธนาคาร โดยมีอำนาจไต่สวนและให้คำแนะนำ (Recommendation) และระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี จากการรายงานประจำปีพบว่าข้อพิพาทจำนวนมากระงับลงโดยผู้ตรวจการธุรกรรมธนาคารพาณิชย์ จึงเป็นที่ยอมรับจากลูกค้าและธนาคารพาณิชย์ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จึงเสนอให้จัดตั้งผู้ตรวจการธุรกรรมธนาคารพาณิชย์ ขึ้นในประเทศไทย โดยมีกฎหมายรองรับ มีความอิสระทำหน้าที่ระงับข้อพิพาทระหว่างธนาคารพาณิชย์กับลูกค้าโดยสันติวิธี มุ่งหมายคุ้มครองลูกค้าส่วนบุคคล บุคคลธรรมดา หรือธุรกิจขนาดเล็ก ทั้งนี้เพื่อให้ลูกค้าธนาคารพาณิชย์ ได้รับความคุ้มครองและระงบข้อพิพาทด้วยความรวดรวดเร็วและเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย
Abstract: Commercial Bank is the financial and banking organization, which plays an important role in economic system as the major source of funding. Banking activities include money deposit, loan, credit facilities and other kinds of financial service provided according to customer purposes. Because most of the works deal with financial problems of the number of customers, the banking is the type of business that has a strong affect to most people.The undertaking of banking business requires both the expertise and new technology. When a problem occurs, it is difficult for people in general to understand the nature and solution. The problems, such as malfunction of electronic devices and ignorance of laws, may arise and create another fonn of conflicts among several commercial banks or conflicts between banking official and its customer.To cope with such problems there are many approaches applying. People may submit a complaint directly to financial organization, file a complaint to the Bank of Thailand and bring the case to court. However, there is no provision of law governing such procedures except for the last approach.For filing lawsuit, there are some disadvantages. In addition to time consuming, the parties are responsible for all expenses such as court fees and lawyer fees. Furthermore in civil procedure, the plaintiff obtains a burden of proof, which is difficult to whose ignorance in banking system. Therefore the special methods and other alternative dispute resolutions for banking cases are required to effectively protect people.The study indicates that commercial banks in other countries for examples, UK, Canada, Australia, India and Switzerland, each jointly and voluntarily established Banking Ombudsman as an independent organization to be in charge with banking perfonnance in its own country, The main purpose of Banking Ombudsman is to settle dispute or conflicts arising from recommendation for the parties to settle disputes amicably. The working of Banking Ombudsnian has been widely accepted as an effective method for a dispute resolution.The annual reports also show that there are alarge number of disputes have been settled by Banking Ombudsman every year.This thesis proposes to thc establishment of Banking Ombudsman in Thailand. The law shall be drafted to guarantee the status of which as an independent organization being responsible for dispute settlement between a bank and its customer with amicably. Accordingly, banking customer are ensured that when problems arise, they are entitled to find another alternative to settle a dispute with fairness and speedy procedure.
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.สำนักหอสมุดกลาง
Address: กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
Email: dcms@lib.ru.ac.th
Role: คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Role: คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Created: 2544
Modified: 2549-06-02
วิทยานิพนธ์/Thesis
ISBN: 9743136312
CallNumber: ม.ร. ป1715 2544
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยรามคำแหง
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 title.pdf 72.57 KB31 2025-06-27 10:17:43
2 abstract.pdf 101.06 KB29 2018-06-07 21:46:04
3 contents.pdf 117.42 KB29 2018-05-13 00:57:29
4 chapter1.pdf 301.18 KB27 2025-06-27 10:16:23
5 chapter2.pdf 1.7 MB38 2022-06-22 19:51:15
6 chapter3.pdf 1.35 MB31 2018-06-07 21:44:32
7 chapter4.pdf 1.32 MB30 2018-06-07 21:44:54
8 chapter5.pdf 327.65 KB32 2019-08-04 02:01:17
9 appendix.pdf 497.23 KB29 2018-05-13 00:57:37
10 bibliography.pdf 133.45 KB27 2022-06-22 19:51:19
11 vita.pdf 20.1 KB18 2018-05-13 00:57:39
ใช้เวลา
0.04 วินาที

ประนูนไชย วิลาศรี
ภูมิ โชคเหมาะ
Title Creator Type and Date Create
อุปสรรคในทางกฏหมายที่ทำให้นักลงทุนต่างด้าวไม่มั่นใจในการมาลงทุน ในประเทศไทย : ศึกษากรณีการโอนกิจการของผุ้ลงทุนมาเป็นของรัฐ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ภูมิ โชคเหมาะ ;ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์
จงรักษ์ พลสงคราม
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายเพื่อควบคุมพืชตัดแต่งพันธุกรรม
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ภูมิ โชคเหมาะ ;นเรศ ดำรงชัย
กรรณิการ์ ชิตวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายในการกำกับดูแลสถาบันการเงินโดยธนาคารแห่งประเทศไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีบทบาทของคณะกรรมการธนาคารพาณิชย์ = The Legal Measures on Investigation to the Financial Institutions by the Bank of Thailand : Case Study on the Role of Board of Director of
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ภูมิ โชคเหมาะ ;บุญเสริม บุญเจริญผลl
วรวัฒน์ สายบัว
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำมาตรการทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ในกฎหมายเพื่อป้องกันควบคุม และแก้ไขปัญหามลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม = The Utilization of Economic Measures to Determine The Laws for Controlling Protection and Solving The Pollution Problem Caused by Pollutants Remitted from th
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กัลยา ตัณศิริ = Kalaya Tansiri;ภูมิ โชคเหมาะ = Poom Chokmoh
ราฆพ ศรีศุภอรรถ = Rakop Srisupaat
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหากฎหมายและอุปสรรคในการรวมกลุ่มเศรษฐกิจระดับภูมิภาค : กรณีศึกษาอาเซียน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ภูมิ โชคเหมาะ ;ธรัมพ์ ชาลีจันทร์
ไพศาล เสริตานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองลูกค้าธนาคารพาณิชย์ โดยผู้ตรวจการธุรกรรมธนาคารพาณิชย์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ภูมิ โชคเหมาะ ;สราวุธ เบจกุล
ประนูนไชย วิลาศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบังคับหลักประกันตามพระราชกำหนดบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ.2544
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ภูมิ โชคเหมาะ
วุฒิพงษ์ ศักดิ์สิทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฏหมายเกี่ยวกับการดำรงตำแหน่งคณะกรรมการในรัฐวิสาหกิจของข้าราชการการเมืองและข้าราชการประจำ
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
อาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ภูมิ โชคเหมาะ
สลักจิต กุลเตชะมาภรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
วินัยทางการคลังและงบประมาณ : ศึกษากรณีการไปศึกษาดูงานต่างประเทศ ของส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจ
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ภูมิ โชคเหมาะ
ธาดา แสงสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้อำนาจทางกฎหมายของฝ่ายทหาร : ศึกษากรณีคำสั่งทางปกครองในสถานการณ์ฉุกเฉิน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ภูมิ โชคเหมาะ
วุฒิชัย ประทุมวัลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้เสียหายและความรับผิดของหน่วยงานของรัฐ : ศึกษากรณีการกระทำละเมิดของบุคคลธรรมดา อันเกิดจากการดำเนินงานตามสัญญาจ้างเหมาบริการด้านบริการงานยานพาหนะ
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ภูมิ โชคเหมาะ
กษรา ตั้งใจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาทางกฎหมายในการบังคับใช้บัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ : ศึกษาเฉพาะกรณีบัตรศูนย์อาหารสูญหายหรือชำรุดบกพร่อ
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ภูมิ โชคเหมาะ
สิริพัชร์ ไพศาล
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์: ศึกษากรณีการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วย
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ภูมิ โชคเหมาะ
จิรัชยา จิ้นสุริวงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สราวุธ เบจกุล
Title Creator Type and Date Create
มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองลูกค้าธนาคารพาณิชย์ โดยผู้ตรวจการธุรกรรมธนาคารพาณิชย์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ภูมิ โชคเหมาะ ;สราวุธ เบจกุล
ประนูนไชย วิลาศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 9
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,783
รวม 2,792 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 69,322 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 42 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 16 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 7 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 69,391 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48