แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Models of professional learning practice for 21st century learners focusing on language learning
รูปแบบการฝึกการเรียนรู้แบบมืออาชีพสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นด้านการเรียนรู้ทางด้านภาษาอังกฤษ

Organization : College of Industrial Technology. Department of Social and Applied Science
Email : montha.s@cit.kmutnb.ac.th

LCSH: ENGLISH LANGUAGE -- STUDY AND TEACHING
Classification :.LCCS: PE1128.A2
Abstract: The study purpose was to get models of professional learning practice for the 21st century learners. Three groups of learners were divided: learners as non-language learners (LG1) practiced achievement language learning as professional, learners as language teachers (LG2) practiced learning how to teach LG1 reaching their goals, and a learner as a researcher (LG3) practiced learning how to enhance both LG1 and LG2 reaching their goals at their own pace. To get models, the research “Enlightening action research makes my life easier in my 21st century workplace” was used as knowledge foundation of action research concepts (Songsiri: 2014) and seven English training projects were used as tools to investigate how the learners practiced achievement learning as professional. The projects were as follows: Project 1: How to write an abstract, Project 2: English conversation for beginners, Project 3: English conversation for intermediate level, Project 4: English conversation for advanced level, Project 5: English conversation for engineering students, Project 6: Job application, and Project 7: Standardized tests. There were two steps for collecting data: Step 1: Action research in action (goal-setting, focus and investigate) to get real and current situations to set the goal, Step 2: Action research procedures (plan, act, observe, reflect, revise and report) to investigate how LG1, LG2 and LG3 practiced achievement learning as professional. The research showed that the achievement learners reached their learning goals as professional by using the following models: Professional knowledge (1. Know themselves and others, and know how they learn 2. Know contents, 21st century skills and how to learn), Professional Practice (based on Neuro-Linguistic Programming (NLP), Passion-based learning (PBL) and Action research concepts), and Professional Engagement (Find more opportunities to join the real situations).
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้รูปแบบการฝึกการเรียนรู้แบบมืออาชีพสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ในงานวิจัยนี้ได้แบ่ง ผู้เรียนออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่1 คือกลุ่มผู้เรียนรู้ที่เป็นผู้เรียนที่ต้องการฝึกการเรียนภาษาอังกฤษให้ประสบความสาเร็จแบบมือ อาชีพ กลุ่มที่2 คือกลุ่มผู้เรียนรู้ที่เป็นอาจารย์ผู้สอนภาษาอังกฤษที่ฝึกการเรียนรู้วิธีการสอนให้ผู้เรียนกลุ่มที่ 1 ประสบ ความสาเร็จในการเรียนตามศักยภาพของตนเองแบบมืออาชีพ กลุ่มที่ 3 คือผู้เรียนรู้ในฐานะที่เป็นนักวิจัยที่ฝึกการเรียนรู้เพื่อให้ ทั้งผู้เรียนรู้ กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่2 ประสบความสาเร็จในการเรียนและการสอนภาษาอังกฤษตามเป้าหมายที่วางไว้ ตามศักยภาพ ของตนเองแบบมืออาชีพ เพื่อให้ได้รูปแบบการเรียนรู้แบบมืออาชีพนี้ ผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยเรื่อง “Enlightening action research makes my life easier in my 21st century workplace” มาเป็นองค์ความรู้พื้นฐานของ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับงานวิจัยเชิงปฏิบัติการมาใช้ในงานวิจัยนี้ และโครงการเพื่อพัฒนาด้านภาษาอังกฤษ ทั้ง7 โครงการ นามาใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาว่าผู้เรียนทั้ง 3 กลุ่มที่เข้าเรียนและสอนในแต่ละโครงการฝึกการเรียนรู้ให้ประสบความสาเร็จ ในการเรียนการสอนอย่างมืออาชีพได้อย่างไร โครงการพัฒนาภาษาอังกฤษทั้ง 7 โครงการคือ 1. How to write an abstract 2. English conversation for beginners 3. English conversation for intermediate level 4. English conversation for advanced level 5. English conversation for engineering students 6. Job application 7. Standardized tests ในงานวิจัยนี้มีขั้นตอนการเก็บข้อมูลอยู่ 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่1 คือ งานวิจัยเชิงปฏิบัติการขณะที่ปฏิบัติการ โดยผ่าน กระบวนการ ตั้งเป้าหมายคือให้ได้รูปแบบของการฝึกการเรียนรู้ที่ประสบความสาเร็จแบบมืออาชีพ, เน้น ไปที่การถอดแบบวิธี คิด ทัศนคติ การปฏิบัติของนักศึกษาที่ประสบความสาเร็จในการเรียน, ตรวจสอบ ว่านักศึกษาที่ประสบความสาเร็จในการเรียน มีวิธีคิด ทัศนคติ การปฏิบัติต่อการเรียนอย่างไร ขั้นตอนที่2 คือกระบวนการงานวิจัยเชิงปฏิบัติการคือ วางแผนการสอน, ทา การสอนตามแผน สังเกต ว่ามีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นขณะที่มีการเรียนการสอน สะท้อนโดยวิเคราะห์ว่าผู้เรียนทั้ง 3กลุ่มที่ประสบ ความสาเร็จในการเรียน มีวิธีคิด ทัศนคติ การปฏิบัติตนต่อการเรียนอย่างไร ปรับปรุงวิธีการสอนให้ดีขึ้น และรายงานผลทั้ง ทางบวกและทางลบ เพื่อพัฒนาการสอนให้ดีขึ้นสาหรับวงจรต่อไป ผลงานวิจัยแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนรู้ที่ประสบความสาเร็จในการเรียนทั้ง 3 กลุ่มมีรูปแบบกระบวนการคิด และแนวปฏิบัติที่ คล้ายกันคือ ส่วนที่ 1 คือมีความรู้แบบมืออาชีพ (1. รู้จักตนเอง รู้จักผู้อื่นและรู้จักวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. รู้จักเนื้อหาที่ ต้องการเรียน รู้จักทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ที่ช่วยส่งเสริมในการเรียนรู้ และรู้วิธีการเรียนให้ประสบความสาเร็จด้วย ตนเอง) ส่วนที่ 2 คือการฝึกปฏิบัติตนแบบมืออาชีพ (1. มีเป้าหมายในการเรียนที่ชัดเจนและก่อให้เกิดความปรารถนาอย่างแรง กล้าที่จะเรียน [Passion-Based Learning] และด้วยการฝึกพูดกับตนเองทางบวก [Neuro-Linguistic Programming] เพื่อ เป็นการฝึกให้กาลังใจตนเอง 2. ใช้กระบวนการความคิดรวบยอดของงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในการค้นหาวิธีการเรียนรู้ให้ประสบ ความสาเร็จตามศักยภาพแบบมืออาชีพด้วยตนเอง) ส่วนที่ 3 คือฝึกเข้าไปมีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริงแบบมืออาชีพ (พยายาม หาโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมในสถานการณ์จริงตามสาขาและความถนัดของตนเองแบบมืออาชีพ)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สำนักหอสมุดกลาง
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: library@kmutnb.ac.th
Role: ผู้ให้ทุน
Created: 2014
Modified: 2018-03-07
Issued: 2018-02-23
งานวิจัย/Research report
application/pdf
eng
©copyrights King Mongkut's University of Technology North Bangkok
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 B16115004.pdf 3.17 MB135 2024-04-12 11:08:57
ใช้เวลา
0.021792 วินาที

Montha Songsiri
Title Contributor Type
การเปลี่ยนทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อการพูดโดยการเพิ่มความตระหนัก
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Montha Songsiri;มณฑา ทรงศิริ
Harvey Johnson
Richard Watson Todd
วิทยานิพนธ์/Thesis
มณฑา ทรงศิริ
Title Contributor Type
Funded by King Mongkut's University of Technology North Bangkok 2014.
Title Creator Type and Date Create
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 24
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,922
รวม 2,946 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 95,130 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 167 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 157 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 22 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 14 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 95,495 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48