แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Immobilization of RGD peptide on the surface of tyrosine-containing polycarbonates
การตรึงอาร์จีดีเพปไทด์บนพื้นผิวของพอลิคาร์บอเนตที่มีไทโรซีน

LCSH: Tyrosine
LCSH: Polycarbonates
LCSH: Immobilized cells
LCSH: Peptides
LCSH: Amino acids
Abstract: This research has focused on chemical immobilization of RGD-containing peptides (RGD, RGDS, GRGDS) on the surface of tyrosine-derived polycarbonates having carboxyl pendant groups, poly(DTE-co¬-20%DT carbonate) through a two-step reaction. The first step involved an activation of carboxyl groups by N-hydroxysuccinimide (NHS) in the presence of 1-(3-dimethylaminopropyl)-3-ethylcarbodiimide hydrochloride (EDCI). The second step was a covalent attachment of RGD-containing peptides. The success of peptide immobilization was determined by ninhydrin method and x-ray photoelectron spectroscopy (XPS). Using hexamethylenediamine as a standard, the grafting density of ~ 8.07 x 10⁻⁸, 6.51 x 10⁻⁸ ,and 5.13 x 10⁻⁸ mol/cm² were estimated for immobilization of RGD, RGDS, and GRGDS, respectively. According to XPS analysis of RGD-immobilized poly(DTE-co-20%DT carbonate) surface after labeling with heptafluorobutyryl chloride, 30 and 74% substitution were calculated for immobilization of RGDS and GRGDS, respectively. Results from in vitro cell studies demonstrated that among all studied RGD-containing peptides, GRGDS can best enhance fibroblast (B95) adhesion and proliferation on the polymer surface. Taking 100% of TCPS as a positive control, cell adhesion ratio and proliferation ratio were elevated from 92 and 100% of the virgin polymer to 117 and 129% respectively, after GRGDS immobilization. Evidently, the extra glycine spacer introduces the flexibility to the peptide and thus allows the RGD part to effectively mediate its specific response to the cells.
Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการตรึงทางเคมีของเพปไทด์ที่มีลำดับกรดแอมิโนอาร์จีดี (อาร์จีดีอาร์จีดีและจีอาร์จีดีเอส) บนพื้นผิวของพอลิคาร์บอเนตที่มีไทโรซีน ซึ่งมีหมู่คาร์บอกซิลเป็นหมู่ข้าง พอลิ(ดีทีอี-โค-20%ดีที)คาร์บอเนต โดยผ่านปฏิกิริยา 2 ขั้นตอน ปฏิกิริยาในขั้นแรกเกี่ยวข้องกับการกระตุ้นหมู่คาร์บอกซิลด้วยเอ็น-ไฮดรอกซีซักซินิไมด์ (เอ็นเอชเอส) ในภาวะที่มี 1-(3-ไดเมทิลแอมิโพรพิล)-3-เอทิลคาร์โบไดอิไมด์ ไฮโดรคลอไรด์ (อีดีซีไอ) ขั้นที่สองเป็นการติดอาร์จีดีเพปไทด์ด้วยพันธะโควาเลนต์ โดยติดตามความสำเร็จของการตรึงเพปไทด์ด้วยวิธีนินไฮดรินและเทคนิคเอ็กซ์เรย์โฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปี (เอ็กพีเอส) จากการใช้สารละลายเฮกซะเมทิลีนไดแอมีนเป็นสารมาตรฐานพบว่าสามารถคำนวณความหนาแน่นของหมู่แอมิโนได้ประมาณ 8.07 x 10⁻⁸ 6.51 x 10⁻⁸ และ 5.13 x 10⁻⁸ โมล/ตารางเซนติเมตร สำหรับการตรึงด้วยอาร์จีดี อาร์จีดีเอส และจีอาร์จีดีเอส ตามลำดับ และจากการวิเคราะห์พื้นผิวของพอลิ(ดีทีอี-โค-20%ดีที)คาร์บอเนตที่ตรึงด้วยอาร์จีดีเพปไทด์หลังจากติดฉลากด้วยเฮปทาฟลูออโรบิวทิริลคลอไรด์ด้วยเทคนิคเอ็กพีเอสพบว่าได้เปอร์เซ็นต์การแทนที่ของ อาร์จีดีเอส และจีดาร์จีดีเอส เป็น 75 และ 30 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ จากผลจาการศึกษาความเข้ากันได้กับเซลล์พบว่าจีอาร์จีดีเอสมีประสิทธิภาพสูงสุดในการเพิ่มการยึดเกาะและการแบ่งตัวของเซลล์ไฟโบรบลาสต์ (บี95) เมื่อเปรียบเทียบกับพอลิสไตรีนที่ใช้เลี้ยงเซลล์ (ทีซพีเอส) ค่าสัดส่วนการยึดเกาะและการแบ่งตัวของเซลล์เพิ่มขึ้นจาก 92 และ 100 เปอร์เซ็นต์ เป็น 117 และ 129 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ หลังการตรึงด้วยจีอาร์จีดีเอส จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าหมู่ไกลซีนที่เพิ่มขึ้นมาทำให้เพปไทด์มีอิสระในการเคลื่อนที่ส่งผลให้ส่วนที่เป็นลำดับอาร์จีดีสามารถแสดงการตอบสนองต่อเซลล์อย่างจำเพาะเจาะจงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Chulalongkorn University. Office of Academic Resources
Address: BANGKOK
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: advisor
Created: 2004
Modified: 2560-08-01
Issued: 2017-07-03
ISBN: 9741767404
eng
DegreeName: Master of Science
©copyrights
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.011908 วินาที

Adisorn Poopattanapong
Title Contributor Type
Vipavee P. Hoven
Title Creator Type and Date Create
Synthetic methodology of isoxazole derivatives
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Yongsak Sritana-anant;Vipavee P. Hoven
Attawut Ruangsri
วิทยานิพนธ์/Thesis
Network formation at squalean/Vinyl-containing silica interfaces
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Vipavee P. Hoven
Suthasinee Pengnarapat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Synthesis of polymer brush by nanoporous surface-initiated polymerization
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Vipavee P. Hoven
Mayuree Srinunthakol
วิทยานิพนธ์/Thesis
Surface modification of natural rubber by graft copolymerization of hydrophilic monomers to improve blood compatibility
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Pienpak Tasakorn;Vipavee P. Hoven
Kamolmart Chombanpaew
วิทยานิพนธ์/Thesis
Immobilization of RGD peptide on the surface of tyrosine-containing polycarbonates
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Vipavee P. Hoven
Adisorn Poopattanapong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Photooxidative degradation of natural rubber by titanium dioxide
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Vipavee P. Hoven
Jittima Deeprasertwong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Controlled degradation of natural rubber by microparticles containing titanium dioxide
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Vipavee P. Hoven;Yasuyuki Tanaka
Narisa Na Lumpoon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Preparation and protein adsorption of polyion complex thin film of chitosan and chitosan derivatives
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Vipavee P. Hoven;Suda Kiatkamjornwong
Somruethai Channasanon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,722
รวม 2,722 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.149