แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Knowledge, attitude, and cognitive skill of academic advisors toward mental health problems in Chulalongkorn medical students

ThaSH: อาจารย์ที่ปรึกษา
ThaSH: สุขภาพจิต
ThaSH: Mental health.
ThaSH: Students, medical.
ThaSH: Attitude.
ThaSH: นักศึกษาแพทย์
Abstract: ศึกษาความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปัจจัยส่วนบุคคลของอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีความสัมพันธ์กับ ระดับความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิด ประชากรตัวอย่างในการศึกษา คืออาจารย์ที่ปรึกษาของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2543 และอาจารย์ทุกท่านที่เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษามาแล้วอย่างน้อย 1 วาระนับตั้งแต่ปีการศึกษา 2523-2543 รวมทั้งสิ้น 273 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งผ่านการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือแล้ว วิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปอร์เซนต์ไทล์ และศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์โดยการคำนวณค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยที่สำคัญมีดังนี้ 1. ในภาพรวมของความรู้ต่อปัญหาสุขภาพจิต อาจารย์ที่ปรึกษาของนิสิตแพทย์ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 40.1) มีความรู้ต่อปัญหาสุขภาพจิตในระดับพอใช้ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์คือ ภาควิชาที่สังกัด สถานภาพสมรส จำนวนบุตร จำนวนครั้งที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และตำแหน่งทางวิชาการ มีความสัพทันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยอาจารย์ที่สังกัดภาควิชาคลินิก สถานภาพสมรสคู่ มีบุตร 2 คน เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา 4 ครั้งขึ้นไป หรือมีตำแหน่งทางวิชาการเป็นอาจารย์ มีความรู้ต่อปัญหาสุขภาพจิตในระดับดีในสัดส่วนที่มากกว่ากลุ่มอื่น 2. ในภาพรวมของเจตคติต่อปัญหาสุขภาพจิต อาจารย์ที่ปรึกษาของนิสิตแพทย์ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 45.8) มีเจตคติในระดับพอใช้ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์คือ เพศ อายุ สาขาวิชาชีพ ภาควิชาที่สังกัด อายุราชการ จำนวนครั้งที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา รวมเวลาที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และตำแหน่งทางวิชาการ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยอาจารย์เพศชาย อายุระหว่าง 40-49 ปี สาขาวิชาชีพแพทย์ สังกัดภาควิชาคลินิก อายุราชการ 11-15 ปี เป็นอาจารย์ที่ปรึกษามาแล้ว 3-6 ปี หรืออาจารย์ที่เป็นศาสตราจารย์ มีเจตคติในระดับดีในสัดส่วนที่มากกว่ากลุ่มอื่น 3. ในภาพรวมของทักษะทางความคิดต่อปัญหาสุขภาพจิต อาจารย์ที่ปรึกษาของนิสิตแพทย์ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 45.8) มีทักษณะทางความคิดในระดับพอใช้ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์คือ เพศ การเข้าร่วมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหาสุขภาพจิตของนิสิตในความดูแล และการเข้าพบของนิสิต มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยอาจารย์เพศหญิง อาจารย์ที่เคยเข้าร่วมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่นิสิตมีปัญหาสุขภาพจิตและได้ส่งพบจิตแพทย์ หรืออาจารย์ที่นิสิตมาพบเพื่อขอปรึกษาเรื่องทั่วไป มีทักษะทางความคิดในระดับดีในสัดส่วนที่มากกว่ากลุ่มอื่น
Abstract: To determine knowledge, attitudes, and cognitive skills of academic advisors toward mental health problems in Chulalongkorn medical students, and to examine their relationships with personal factors. The study samples were 273 academic advisors of medical students from the academic year 1980 to 2000. The pre-tested self-administered questionnaire developed by researcher was employed. Statistical methods used in data analysis included percent, mean, standard deviation, percentile, and Chi-square test. Research results were as follows: 1. Knowledge regarding mental health problems of the majority of advisors was at the fair level (40.1%). Personal factors that had statistically significant relationship with knowledge of mental health problems were department, marital status, number of child in the family, frequencies of being academic advisor, and academic position. These advisors who werer: being in clinical departments, married, having 2 children, being advisors more than 4 times, or being instructors, had a proportion in high level of knowledge more than other groups. 2. Most of the advisors' attitudes toward mental health problems were at the fair level (45.8%). Personal factors that had statistically significant relationship with attitudes toward mental health problems were sex, age, occupation, department, academic experience, frequencies of being academic advisor, total period of time being academic advisor, and academic position. These advisors who were: male, 40-49 years of ages, being doctors, being in clinical departments, having 11-15 years in academic experiences, being advisors at first time, being advisors less than 3 years, or being professors, had a proportion in high level of attitudes more than other groups. 3. Most of the advisors' cognitive skills in mental health problems were at the fair level (45.8%). Personal factors that had statistically significant relationship with cognitive skills in mental health problems were sex, advisor seminar participation, students' mental health, and students' purpose for attending. These advisors who were: female, attendants in advisor seminars, referrers of students with mental health problems to be treated by psychiatrist, or attended by students for consulting general problems, had a proportion in high levle of cognitive skills more than other groups.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2543
Modified: 2560-03-26
Issued: 2560-03-26
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11739
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Pintong.pdf 2.13 MB9 2023-05-24 13:49:50
ใช้เวลา
0.022609 วินาที

อัมพล สูอำพัน
Title Creator Type and Date Create
สภาวะทางจิตสังคมของเด็กหญิงที่ถูกทารุณกรรมทางเพศ ในศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก และมูลนิธิคุ้มครองเด็ก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
สุวพักตร์ เวศม์วิบูลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสอนเรื่องการสัมผัสและทักษะการป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศในเด็กอนุบาล โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เขตบางคอแหลม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน;ปิยลัมพร หะวานนท์
ปราลบ พรมล้วน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความเครียดของพนักงานที่ย้ายฐานปฏิบัติการจากท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองไปยังท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
ฉัตรสุดา ส่องแสงเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ประสิทธิภาพของโปรแกรมการอบรมผู้ปกครองเด็กสมาธิสั้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน;ณัทธร พิทยรัตน์เสถียร
เทพสิรินทร์ มากบุญศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติ และความสัมพันธ์ทางสังคมที่มีต่อเด็กออทิสติกของเพื่อนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในชั้นเรียนที่มีโครงการเรียนร่วมของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
ปณัสยา น้ำรัก
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการกระตุ้นโดยการสัมผัสต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท
มหาวิทยาลัยมหิดล
พรศรี ศรีอัษฎาพร;ฉลองรัฐ อินทรีย์;ทัศนา บุญทอง;จำเรียง กูรมะสุวรรณ;อัมพล สูอำพัน
พัศนีย์ รัตนโอภาส
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเปรียบเทียบพื้นฐานอารมณ์ของเด็กก่อนวัยเรียนตามลักษณะปัจจัยด้านเศรษฐกิจสังคมและการเลี้ยงดู
มหาวิทยาลัยมหิดล
ทัศนา บุญทอง;พรศรี ศรีอัษฎาพร;อัมพล สูอำพัน
วรัตมา สุขวัฒนานันท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ความเข้าใจและเจตคติของครูผู้สอนในระดับก่อนประถมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อปัญหาการกระทำทารุณเด็ก
มหาวิทยาลัยมหิดล
อัมพล สูอำพัน;สุธีรา ภัทรายุตวรรตน์;เตือนใจ อินทุโสมา
สมลักษณ์ ตัณพิสุทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นฐานอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของเด็กวัยก่อนเรียน
มหาวิทยาลัยมหิดล
ทัศนา บุญทอง;พรศรี ศรีอัษฎาพร;อัมพล สูอำพัน
วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ภาวะซึมเศร้าของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นในจังหวัดสมุทรปราการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
ช่อเพชร เบ้าเงิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพึงพอใจต่อวิชาชีพของครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
นภา พวงรอด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นเกี่ยวกับจริยธรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้องของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดนนทบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
เนาวนิตย์ มุขสมบัติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ประสิทธิภาพของการฝึกผ่อนคลายและการฟังเพลงต่อความวิตกกังวลและการเป็นลม ในผู้บริจาคโลหิตครั้งแรก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน;ณัทธร พิทยรัตน์เสเถียร
วชิรา ทองพิทักษ์วงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ เจตคติ และทักษะทางความคิดของอาจารย์ที่ปรึกษา ต่อปัญหาสุขภาพจิตในนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;อัมพล สูอำพัน
พิณทอง ลิ่มพงศธร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาพฤติกรรมและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเด็กวัยรุ่นตอนต้น (อายุ 12-15 ปี) ที่ป่วยด้วยโรคลมชัก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
สินีพรรณ ปิยนราพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาพฤติกรรมและแบบการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวเด็กบกพร่องทางสติปัญญาอายุ 6-11 ปีที่มารับบริการแบบผู้ป่วยในของโรงพยาบาลราชานุกูล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
ดารกา แสงสุขใส
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบบทบาทของบิดาในการเลี้ยงดูบุตรวัย 0-5 ปี ที่มารับบริการระหว่างแผนกกุมารเวชศาสตร์ และหน่วยกุมารจิตเวช แผนกจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิระภา สุทธิพันธ์;อัมพล สูอำพัน
อรทัย คล้ายสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสภาวะจิต-สังคมในเด็กป่วยเรื้อรัง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน;เตือนใจ อินทุโสมา
นงคราญ จิณศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคาดหวังในชีวิตของเด็กเร่ร่อน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;อัมพล สูอำพัน
สุดา ศาสนัส
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเปรียบเทียบความรู้และเจตคติของพยาบาลและนักศึกษาพยาบาล ที่มีต่อการทารุณเด็ก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;อัมพล สูอำพัน
วราภรณ์ วงศ์กุลพิศาล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การป้องกันการทารุณกรรมและการทอดทิ้งเด็กระดับปฐมภูมิ ของหน่วยงานที่ทำงานเกี่ยกับสวัสดิภาพของเด็กในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;อัมพล สูอำพัน
น้ำเพชร บัญญัติศุภศิล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพึงพอใจและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในงานของเจ้าหน้าที่สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
วัลลภา วีรปกรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างแผนการเลือกอาชีพกับความสนใจในอาชีพของเด็ก และความคาดหวังของผู้ปกครองที่มีต่อการเลือกอาชีพของเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัดกรมสามัญศึกษา เขตอำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
วลีรัตน์ รักแต่งาม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการบริโภคต่อภาวะโภชนาการของเด็กวัยรุ่นตอนต้น ในเขตการศึกษาที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;อัมพล สูอำพัน;อลิสา วัชรสินธุ
ภวดี ลิขิตวงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาพฤติกรรมของเด็กก่อนวัยเรียนในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;อัมพล สูอำพัน;ปรัชวัน จันทร์ศิริ
โสรัจ เรืองรัตนนิธิ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสนใจในอาชีพและความคาดหวังทางการศึกษา และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในนักเรียนหญิงมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสุรนารีวิทยา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;อัมพล สูอำพัน
นิโลบล สุมาลัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาวะจิตสังคมของเด็กชายที่กระทำผิดกฎหมาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมพล สูอำพัน
รัชนีย์ อุดชาชน
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 1
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 886
รวม 887 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 97,879 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 41 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 22 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
รวม 97,944 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48